Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/744
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorราตรี นาคกลัด, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T07:41:42Z-
dc.date.available2022-08-18T07:41:42Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/744-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559.th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบปฏิบัติการทำให้ปราศจากเชื้อโดยประยุกต์ใช้แนวคิดลีนในหน่วยจ่ายกลางโรงพยาบาลสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช และ 2) ศึกษาผลของระบบปฏิบัติการทำให้ปราศจากเชื้อโดยใช้แนวคิดลีนที่พัฒนาขึ้นต่อเวลาที่ใช้ใน ระบบปฏิบัติการทำให้ปราศจากเชื้อ จำนวนชุดอุปกรณ์ที่ไม่มีคุณภาพ ความพึงพอใจในงานของ พนักงานจ่ายกลาง และความพึงพอใจต่อการรับบริการหน่วยจ่ายกลางของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) ชุดทําแผลจำนวน 1,677 ชุด 2) พนักงานจ่ายกลาง โรงพยาบาลสิชลที่มีอายุงานตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 7 คน และ 3) พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลสิชล จำนวน 35 คน ที่ได้รับการสุ่มอย่างมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบ รวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกเวลา แบบบันทึกจำนวนชุดอุปกรณ์ที่ไม่มีคุณภาพ แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการรับบริการ ซึ่งแบบสอบถามดังกล่าวได้รับการตรวจความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.90 และ 1 ตามลำดับ และได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาชเท่ากับ 0.95 ทั้งสองฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที (dependent t-test) ไคว์สแควร์ และ Wilcoxon Signed Ranks test ผลการวิจัย พบว่า 1) ระบบปฏิบัติดารทำให้ปราศจากเชื้อได้รับการพัฒนาขึ้นจาก 17 ขั้นตอน เป็น 16 ขั้นตอน 2) ระยะเวลาที่ใช้ในระบบปฏิบัติการหลังการใช้ระบบที่พัฒนาขึ้นต่ำกว่าก่อนใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (p <.05) และ 4) พยาบาลวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการรับบริการหน่วยจ่ายกลางอยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการควบคุมการติดเชื้อth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลสิชล--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบปฏิบัติการทำให้ปราศจากเชื้อโดยประยุกต์ใช้แนวคิดลีน โรงพยาบาลสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeThe development of the operating sterilization system based on lean concepts at Sichon Hospital, Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: 1) to develop an operating sterilization system based on Lean concepts at Sichon hospital, Nakhon Si Thammarat province and 2) to study the effects of the developed operating sterilization system based on Lean concepts in terms of time spent on the operating sterilization system, the number of defective sterilized equipment, job satisfaction of staff, and satisfaction of professional nurses on central supply services. The sample of this study consisted of 1) 1,677 dressing sets, 2) the purposive sample of 7 central supply staff working at Sichon hospital, and 3) thirty five professional nurses selected by systemic random sampling. The research instruments included forms for recording time spent and quality evaluation of sterilized equipment, job satisfaction survey, and service satisfaction survey. The content validity was verified by 5 experts. The content validity index of the job satisfaction survey and service satisfaction survey were 0.90 and 1 respectively.Cronbach’s alpha reliability coefficient of the job satisfaction survey and service satisfaction survey were 0. 95. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, dependent t-test, chi-square, and Wilcoxon signed ranks test. The research findings were as follows. 1) The developed operating sterilization system based on Lean concepts that was decreased from 17 steps to 16 steps.2) Time spent on the operating sterilization system after using the developed operating sterilization system was statistically lower than before using the developed operating sterilization system (p <.05) Finally, professional nurses rated service satisfaction at the high levelen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 155167.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons