Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7455
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐิติรัตน์ นาคชาติ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T05:56:34Z-
dc.date.available2023-07-07T05:56:34Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7455-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์สภาพการบริหารสู่การเป็นตรวจคน เข้าเมืองจังหวัดหนองคาย 4.0 (2) วิเคราะห์ปัญหาการบริหารสู่การเป็นตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด หนองคาย 4.0 (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารสู่การเป็นตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดหนองคาย 4.0 วิธีดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รายงาน ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้บริหารของกองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 4 และ ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดหนองคาย รวม 10 คน การวเิ คราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการบริหารของตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดหนองคาย มีโครงสร้างในแนวดิ่งตามสายการบังคับบัญชาแบบชั้นยศ และบุคลากรมีการแบ่งแยกหน้าที่ความ รับผิดชอบอย่างชัดเจน นำระบบเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนงานบางส่วน เนื่องจากงบประมาณ มีจำกัด ผู้นำองค์การมีลักษณะเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (2) ปัญหาการบริหารที่สำคัญ คือ การมี ลำดับบังคับบัญชาที่ยาวทำ ให้เกิดความล่าช้า รวมถึงบุคลากรและเทคโนโลยีมีขีดความสามารถ ที่ไม่สอดคล้องกับบริบทของความเปลี่ยนแปลง (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารสู่ตรวจคนเข้า เมืองจังหวัดหนองคาย 4.0 คือ การปรับโครงสร้างในแนวราบ หรือโครงสร้างแบบเมทริกซ์ เพื่อให้ องค์การมีความยืดหยุ่น และให้บริการในรูปแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว รวมถึงแสวงหางบประมาณ จากแหล่งต่างๆ เพื่อนำมาพัฒนาระบบเทคโนโลยี และการสรรหาบุคลากรที่มีขีดความสามารถสูง พัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่องให้เป็นมืออาชีพและประยุกต์ใช้หลักคุณธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคนเข้าเมือง -- ไทย -- หนองคายth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ -- การจัดการth_TH
dc.titleการพัฒนาการบริหารสู่การเป็นตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดหนองคาย 4.0th_TH
dc.title.alternativeAdministration development towards Nhongkai Immigration 4.0th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to analyze administrative condition towards Nhongkai Immigration 4.0 (2) to analyze administrative problems towards Nhongkai Immigration 4.0 (3) to recommend guidelines for administration development towards Nhongkai Immigration 4.0. This research was a qualitative research. Data was collected from documents, reports, regulations, relevant laws and interviewed executives of the Immigration Bureau 4 and administrator of Nhongkai Immigration, totally 10 interviewees. Data analysis used content analysis. The research findings were as follows: (1) administrative conditions of Nhongkai Immigration had structure in form of vertical hierarchy as rank and staff was assigned specific duties and responsibilities. Technology system was used in some work process because of budget limit. The leaders of the organization were kind of change agent. (2) important administrative problems were long chain of command effected the red tape. Staff and technology were not appropriate with the context of changes. ( 3 ) guidelines for administration development towards Nhongkai Immigration 4.0 were that there should adjust to the horizontal or matrix organization structure for the flexibility and service in the form one stop service. Moreover, there should seek more budget from various sources to develop technology as well as recruite high capacity personnel, continuously develop professional skills and apply the merit systemen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158646.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons