Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7475
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเหมือนขวัญ ช่วยคง, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-10T00:57:58Z-
dc.date.available2023-07-10T00:57:58Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7475-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลในจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี 2) ศึกษาปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และ 3) เสนอ กลยุทธ์ในการสร้างเทศบาลให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจที่เน้นการวิจัยเชิงปริมาณและมีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วย ประชากร คือ เทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 40 แห่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 3,514 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของ ทาโร ยามาเน่ จำนวน 370 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยแบบขั้นตอน และ การวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 2) การจัดการเชิกลยุทธ์และวัฒนธรรมองค์กร เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อการเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ของเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร้อยละ 61.70 และการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดการความรู้ตามเกณฑ์การ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และวัฒนธรรมองค์กร เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อการเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ของเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร้อยละ 73.70 และเมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า การจัด การเชิงกลยุทธ์ การ จัดการความรู้ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ และวัฒนธรรมองค์กร เป็นปัจจัย ที่มีอิทธิพลเชิง บวกต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร้อยละ 76.60 3) กลยุทธ์ที่ควรใช้ในการสร้าง เทศบาลให้เป็นองค์กรที่มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน คือ จัดสรรงบประมาณในการส่งบุคลากรเข้ารับการ ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชนกับ เทศบาล เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกัน เปิดโอกาสให้บุคลากรร่วมกันกำหนดนโยบาย กฎระเบียบ และวิธีการ ปฏิบัติงานต่าง ๆ ของเทศบาล จัดทำเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ให้มีรายละเอียดถูกต้อง ครบถ้วนตาม ระเบียบข้อกฎหมาย เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบจากหน่วยงานตรวจสอบต่าง ๆ สร้างทีมปฏิบัติงานเฉพาะกิจเพื่อร่วมกัน ปฏิบัติงานที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อน โดยอาศัย ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะกิจ เพื่อให้งานสามารถดำเนินการตามระเบียบ ข้อกฎหมาย ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานให้บุคลากรได้ศึกษาเกี่ยวกับระเบียบ ข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่ยำ และรวดเร็ว ส่วนในภาพรวม มีข้อเสนอแนะ คือ จะต้องนำ หลักการการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดการความรู้ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วัฒนธรรมองค์กร และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในเทศบาล เพื่อสร้างเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้กลายเป็นองค์กร แห่ง การเรียนรู้อย่างยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the learning organization of the municipality in Suratthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameThe purposes of this research were 1) to study the level of being the learning organization of Municipality in Suratthani Province, 2) to study factors affecting the learning organization of the Municipality in Suratthani Province, and 3) to propose strategies for building the organizations ofMunicipality to become the sustainable learning organizations. This study was a survey research focused on both quantitative and qualitative research. The population was 40 Municipality in Suratthani Province. The sample consisted of 3,514 people working in Municipalies in Suratthani Province by specifying the sample size according to the formula of Taro Yamane for 370 people. The research instruments were questionnaires and interview forms. The descriptive and reference statistics in this research were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, T-test and multiple regression analysis using stepwise regression and inductive data analysis. The results illustrated that 1) the level of being the learning organization of Municipality in Suratthani Province was not less than 70 percent (2) the strategic management and organization culture were significant factors that positively influence the learning organization of Municipality in Suratthani Province for 61.70 percent and considering the concept of Pedler and others found that strategic management and public sector management quality award : PMQA and organization culture were the factors that had a positive influence on being the learning organization of Municipality in Suratthani Province for 73.70 percent, and when considering overview found that strategic management and public sector management quality award : PMQA and organization culture were the factors that had a positive influence on being the learning organization of Municipality in Suratthani Province for 76.60 percent, 3) the proposed strategy that should be used to become as sustainable learning organizations are to allocate the budget for personnel to train for developing personnel potential into the learning organization, encourage the exchange learning between communities and Municipality in order to create a common learning network, allow personnel to jointly formulate policies, rules, regulations, and procedures for various operations of the Municipality, organize the annual budget expenditure ordinance to be accurate and complete according to the law and regulations in order to make it easier to check from various audit agencies, create a special operation team to work together for complicated tasks based on knowledge from special operation experts so that the tasks can be quickly and accurately carried out according to various legal regulations, and create a working manual for personnel to study about relevant regulations and laws in order to be able to perform work accurately and quickly, and in general, the suggestion are to apply the strategic management principles and public sector management quality award: PMQA, and organizational culture, and information technology in the Municipality to become the sustainable learning organizationen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
160956.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons