Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแก้ว จำปาลา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-10T02:14:38Z-
dc.date.available2023-07-10T02:14:38Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7480-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตธุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษา (1) บัญหาการบริหารจัดการด้านภาวะ ผู้นำของนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลในจังหวัดสกลนคร (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการ ด้านภาวะผู้นำของนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลในจังหวัดสกลนคร และ (3) เปรียบเทียบภาพรวม การบริหารจัดการด้านภาวะผู้นำของนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลในจังหวัดสกลนคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามชี่งผ่านการทดสอบ รวมทั้ง ผ่านการทดสอบหาความเที่ยงตรงและความเชี่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.83 สำหรับกลุ่ม ตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชน และบุคลากรที่ปฎิปติหน้าที่ในเทศบาลตำบลในจังหวัดสกลนคร รวม 1,132 คนเก็บรวบรวมแบบสอบถามกลบคนมาได้ 1,132 ชุดคิดเป็นร้อยละ 100.00 ของแบบสอบถาม ทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที นอกจากนี้ ยังมีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาการบริหารจัดการที่สำคัญที่สุด คือ นายกเทศมนตรีขาด ความมั่นใจและขาดการตัดสินใจในการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบของเทศบาลไปในทิศทางที่เป็น ประโยชน์ต่อส่วนรวม (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการที่สำคัญ คือ กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นควรจัดหาเอกสารเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ แนวทางการปฎิบัติงาน และเทคนิคการปฏิบัติงาน ของท้องถิ่นให้แก่นายกเทศมตรี และ (3) ในภาพรวม ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการด้านภาวะ ผู้นำของนายกเทศมนตรีในปัจจุบันสูงกว่าในอดีตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.197-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectนายกเทศมนตรี--ไทย--สกลนครth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบล--การบริหาร.--ไทย--สกลนครth_TH
dc.titleการบริหารจัดการของนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลในจังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeManagement administration of the mayors of the subdistrict municipalities in Sakon Nakhon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.197-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this research were to study (1) problems of management administration regarding the leadership of the mayors of the Subdistrict Municipalities in Sakon Nakhon Province, (2) the development guidelines of management administration regarding the leadership of the mayors of the Subdistrict Municipalities in Sakon Nakhon Province, and (3) overview comparative management administration regarding leadership of the mayors of the Subdistrict Municipalities in Sakon Nakhon Province. This study was a survey research using questionnaires. The questionnaires were pretested and had been checked out for validity and reliability of 0.83 level. Sample groups of 1,132 peoples and local officers performed their dities in the Subdistrict Municipalities in Sakon Nakhon Province. 1,132 sets of questionnaire were collected, equal to 100.00% of total questionnaires. Statistics used for data analysis were percentage, arithmetic means, standard deviation, and t-test. Also, in-dept interview of experts was applied. The research results found that (1) the important problem of management administration was the mayors’ lack of confidence and decision making on changing the municipality rules in the direction of public interests; (2) the important development guideline of management administration was the Department of Local Administrative should provide the mayors of the Subdistrict Municipalities in Sakon Nakhon Province with the clear documents of authorities, procedures, and techniques of the local government performances; and (3) the important overview was the mayors’ management administration efficiencies regarding leadership at present was higher than the pasten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118834.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons