Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7487
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธเนศพล วงศ์เจริญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-10T06:40:24Z-
dc.date.available2023-07-10T06:40:24Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7487-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา (1) ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเกอวังชิ้น จังหวัดแพร่ (2) การพัฒนาการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอวังชิ้นและ (3) ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทำให้การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขององค์การ บริหารส่วนตำบลในอำเภอวังชิ้นประสบผลสำเร็จทั้งนี้ได้นำการปฏิบัติราชการตามคำรับรองของ หน่วยงาน มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใชัแบบสอบถามเป็นเครื่องมือซึ่งผ่านการ ทดสอบหาความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.91 กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนในอำเภอวังชิ้นรวม 1,026 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามดำเนินการระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2552 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2552 เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนได้ 986 คน คิดเป็น ร้อยละ 96.10 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใชัคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า (1) ปัญหาที่สำคัญ คือ องค์การบริหารส่วน ตำบลในอำเภอวังชิ้นไม่ประสบความสำเร็จในการสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลตามเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการ (2) การพัฒนาที่ สำคัญคือผู้บริหารทุกระดับขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอวังชิ้นควรเข้ารับการฝึกอบรม หรือศึกษาวิธีการและเทคนิคการชักชวนให้ประชาชนเขามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของ องค์การบริหารส่วนตำบล และ (3) ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทำให้การพัฒนาการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอวังชิ้นประสบผลสำเร็จ คือ การที่ผู้บริหารและประชาชนตระหนักและเชื่อมั่นศรัทธาในความสำคัญและความจำเป็นของการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.100-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การมีส่วนร่วมของประชาชน.--ไทย--แพร่th_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ตามแนวทางการปฏิบัติราชการตามคำรับรองของหน่วยงานth_TH
dc.title.alternativePeople's participations in management administration according to the performance agreement of agency of the sub-district administrative organizations in Wang Chin District, Phrae Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.100-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main purposes of this study were to study (1) problems of people’s participations in management administration of the Sub-district Administrative Organizations in Wang Chin District, Phrae Province, (2) development of people’s participations in management administration of the Sub-district Administrative Organizations in Wang Chin District and (3) factors that look important parts in the success of people’s participations in management administration of the Sub-district Administrative Organizations in Wang Chin District. The Performance Agreement of Agency was applied as conceptual framework of this study. The study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were being tested for validity and reliability of questionnaire at 0.91 levels. The samples consisted of 1,026 people in Wang Chin District. The data collection was conducted during August 1, 2009 to September 30, 2009. 986 sets of questionnaire, equal to 96.10%. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and l-test. The results of the study showed the samples agreed that (1) the major problem was the Sub-district Administrative Organizations in Wang Chin District’ ร failure in supporting people to participate in management administration according to the target of the Performance Agreement of Agency, (2) the major development was the executives of the Sub-district Administrative Organizations in Wang Chin District at all levels should be trained on the methods and techniques of persuasion people to participate in management administration of the Sub- district Administrative Organizations and (3) the major factor that took important parts in the success of people’s participations in management administration of the Sub-district Administrative Organizations in Wang Chin District was the executives and people’s realization on the significance and essence of people’s participations in the management administration of the Sub-district Administrative Organizationsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118839.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons