Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7502
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบัญชา วิจิตรพานิชกุล, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T01:24:24Z-
dc.date.available2023-07-11T01:24:24Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7502-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อวัดระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี (2) เพื่อเปรียบเทียบ ความพึงพอใจโดยรวมจำแนกตามข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี (3) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจโดยรวม จำแนกตามช้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาล ของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วยผู้ป่วยที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลของ รัฐในขังหวัดสุพรรณบุรี ที่มีอายุตั้งแต่ 15-60 ปี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความ พึงพอใจของผู้รับบริการ หาค่าความเชื่อมั่นโดยวิธีสัมประสิทธิแอลฟา ของ ครอนบาค เท่ากับ .9306 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ช้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน โดยใช้การทดสอบแบบที และการทดสอบแบบ เอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความพึงพอใจของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วนนอกตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ในระด้บพึงพอใจมาก (2) การวิเคราะห์ เปรียบเทียบจากข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่ารายได้ของครอบครัว และอายุ พบว่าแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p > .05) (3) การวิเคราะห์เปรียบเทียบจากช้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาลที่ให้บริการ แผนกผู้ป่วยนอก ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า จำนวนเคียงของโรงพยาบาลมีผลต่อความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > .05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้ป่วยนอก -- สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectผู้ป่วยนอก -- ไทย -- สุพรรณบุรีth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอกตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeClients's satisfaction with the service of the out patient department at the government hospitals in Suphan Buri Province under the universal healthcare coverage policyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.nameThe objectives of this study were three folds: (1) to estimate the clients’ satisfaction level with the service of the out patient department at the government hospitals in Suphan Buri Province under the universal healthcare coverage policy (2) to compare all of the factors concerning the clients that affected their satisfaction with the service of the out patient department at the government hospitals in Suphan Buri Province under the universal healthcare coverage policy (3) to compare all of the factors concerning the government hospitals in Suphan Buri Province which provided the out patient service for the clients under the universal healthcare coverage policy. Four hundred clients aged 15-60 who visited the out patient department at the government hospitals in Suphan Buri Province comprised the sample group. A questionnaire was employed in collecting data. Cronbach’s Alpha Coefficient was used to test the questionnaire reliability ( .9306). The percentage, mean, standard deviation, analysis of variance; t test and F test were employed to analyze the data. Majors findings were as follows: (1) the clients’satisfaction level with the service of the out patient department at the government hospitals in Suphan Buri Province under the universal healthcare coverage policy was very high (2) the comparison among all of the factors concerning the clients -sex marriage status education level occupation were found insignificantly different except the family income and age factors found significantly different (p > .05) (3) the comparison among all of the factors concerning the government hospitals in Suphan Buri which provided the out patient service for the clients under the universal healthcare coverage policy was found significantly different (p > .05) due to the amount of beds in the hospitalsen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77127.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons