Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ขาวดี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T03:22:36Z-
dc.date.available2023-07-11T03:22:36Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7511-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประเมินผลการดำเนินงานของโรงพยาบาล ควนโดน ทางด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการจัดการภายใน และด้านการเรียนรู้และการ พัฒนา (2) ปัญหาการดำเนินงานของโรงพยาบาลควนโดน (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการ ดำเนินงานของโรงพยาบาลควนโดน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มี สองส่วน คือ ส่วนทื่หนึ่งผู้รับบริการที่มารับบริการใน โรงพยาบาลควนโดนจำนวน 13,230 ราย โดยสุ่มตามสูตรทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 388 ราย และส่วนที่สอง คือ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลควนโดน จำนวน 110 ราย ในส่วนที่สอง นี้เลือกศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) การประเมินผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลควนโดนด้าน การเงินนั้น รายได้ลดลง และค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ด้านลูกค้าพบว่า ความพึงพอใจของผู้รับบริการใน ภาพรวม ด้านกระบวนการภายใน ภาพรวม และด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ความพึงพอใจของ เจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลควนโดน (2) ปัญหาในการดำเนินงานของโรงพยาบาลควนโดน ในภาพรวม พบว่า มีปัญหาด้านการเงินมากที่สุด คือ รายได้ค่าร้กษาพยาบาลเบิกได้ผู้ป่วยในลดลง (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของโรงพยาบาลควนโดน ควรให้โรงพยาบาล ควนโดนหาแนวทางในการจัดเก็บรายได้เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้และควบคุมการใช้จ่ายลงโดยให้ลด รายจ่ายที่เกินความจำเป็นลง เพื่อทำให้สภาพทางการเงินดีขึ้น ซึ่งส่งผลให้โรงพยาบาลควนโดน สามารถดำเนินงานต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไปในอนาคตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.104-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงพยาบาล--การบริหาร--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลควนโดน จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeThe operational evaluation of Khaudon Hospital, Satun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.104-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to the Operational Evaluation of Khaudon Hospital in 4 aspects : financial perspective, customer perspective, internal business process perspective, and learning and growth perspective; (2) to the problems operational of Khaundon Hospital; and (3) to the recommendation for developing operational of Khaundon Hospital. The population in this study by 2 part; Part one the study population consisted of 388 customers (n=388) from total customer (n” 13,230); selected by using Taro Yamane or technique formulation; Part two selected all worker who working in Khaundon Hospital (n=110). The instrument used was questionnaires. The statistic used to analyze the data by computer programs were to the frequency, percentage, mean, and standard deviation; and t-test Analysis. The findings of this study were as follows: (1) the operation evaluation of Khaundon Hospital in four part were 1) The financial perspective revenue decreased and expense increase; 2) The customers perspective were satisfied with total service from Khaundon Hospital; 3)The internal business process perspective; 4) The learning and growth also worker in Khaundon Hospital; (2) Khaundon Hospital found financial problems in operation in most that revenue treatment to patients in withdrawal decreased; (3) 1-ed to the recommendation for developing operation of Khaundon Hospital; that Khaundon Hospital should increase its revenue while decreased its cost cutting. If that is earsied out, its efficiency and effectiveness should be on the rise in the years to comeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118854.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons