Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7520
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร | th_TH |
dc.contributor.author | นันทิชา สุรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T04:23:53Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T04:23:53Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7520 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้ออาหารกุ้งของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในพื้นที่จังหวัดตรัง (2) ศึกษาระดับความคิดเห็นที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของอาหารกุ้งของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในพื้นที่จังหวัดตรัง (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการซื้ออาหารกุ้งกับลักษณะส่วนบุคคลของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง (4) เปรียบเทียบข้อคิดเห็นด้านปัจจัยส่วนประสมการตลาดจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งการวิจัยนี้ใช้วิธีการสำรวจ ประชากร คือ ผู้เลี้ยงกุ้งในพื้นที่จังหวัดตรัง 820 ราย สุ่มตัวอย่างมา 269 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ข้อมูล ค่าร้อยละและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติการทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบไค-สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในพื้นที่จังหวัดตรังส่วนใหญ่ใช้อาหารกุ้งตราซีพี มีเหตุผลของการเลือกซื้ออาหารกุ้งเพียงยี่ห้อเดียวเนื่องจากเชื่อถือในคุณภาพ กรณีเลือกซื้อหลาย ยี่ห้อมีเหตุผลในการเลือกซื้อเนื่องจากระดับราคาที่แตกต่างกัน ไม่ต้องการเปลี่ยนยี่ห้ออาหารเนื่องจากอาหารมีคุณภาพดี และกรณีที่ต้องการเปลี่ยนยี่ห้ออาหารเนื่องจากคุณภาพอาหารยี่ห้ออื่นดีกว่า ส่วนใหญ่ซื้อจากร้านค้าเนื่องจากรู้จักกับผู้ขายและผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อส่วนใหญ่คือเจ้าของกิจการ มีความถี่ในการสั่งซื้อ 4-7 วันต่อครั้ง ชำระเงินด้วยวิธีเงินเชื่อ 1 เดือน และรับทราบการโฆษณาอาหารกุ้งจากพนักงานขาย (2) เกษตรกรที่ไม่เปลี่ยนยี่ห้อให้ความสำคัญกับส่วนประสมการตลาดด้านผลิตัณฑ์ คือ สีของเม็ดอาหาร การจัดจำหน่าย คือการมีตัวแทนจำหน่ายใกล้บ้านและการขนส่งถึงฟาร์มมากที่สุดแต่ส่วนประสมการตลาดอื่นๆ เกษตรกรไม่ได้ให้ความสำคัญ ยกเว้นกรณีเกษตรกรเปลี่ยนยี่ห้อที่ราคามีความสำคัญต่อการซื้อ (3) อายุมีความสัมพันธ์กับยี่ห้ออาหารกุ้งที่ใช้ การศึกษาและประสบการณ์การเลี้ยงกุ้งมีความสัมพันธ์กับการซื้ออาหารกุ้งเพียงยี้ห้อเดียว ความถี่ของการซื้อ ขนาดเนื้อที่ที่ใช้เลี้ยงกุ้งมีความสัมพันธ์กับการซื้ออาหารกุ้งเพียงยี้ห้อเดียว สถานที่ที่ซื้อมีความสัมพันธ์กับผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ ความถี่ของการซื้อ ต้นทุนเฉลี่ยต่อหนึ่งรอบการเลี้ยงมีความสัมพันธ์กับการซื้ออาหารกุ้งเพียงยี่ห้อ เดียว สถานที่ที่ซื้อ ความถี่ของการซื้อ (4) เกษตรกรที่มีอายุแตกต่างกันมีความเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาดในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อจำแนกเป็นรายด้านมีความเห็นต่อความสามารถในการคงตัวในน้ำของอาหารกุ้งแตกต่างกัน เกษตรกรที่มีการศึกษาแตกต่างกันมีความเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาดในภาพรวมแตกต่างกัน เมื่อจำแนกเป็นรายด้านมีความเห็นต่ออัตราการเจริญเติบโตของสัตว์ ประสิทธิภาพการใช้อาหาร ตัวแทนจำหน่ายอยู่ใกล้บ้าน มีการขนส่งอาหาร บริการส่งอาหารถึงฟาร์มไม่แตกต่างกัน เกษตรกรที่มีประสบการณ์การเลี้ยงแตกต่างกันมีความเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการจัด จำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาดในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน เกษตรกรที่มีเนื้อที่ที่ใช้เฉพาะในการเลี้ยงและมีต้นทุนเฉลี่ยต่อ 1 รอบการเลี้ยงแตกต่างกันมีความเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในด้านผลิตภัณฑ์ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาดในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | อาหารสัตว์ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--การตัดสินใจ | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--ตรัง | th_TH |
dc.subject | กุ้ง--อาหาร | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการซื้ออาหารกุ้งของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในพื้นที่จังหวัดตรัง | th_TH |
dc.title.alternative | Farmer's purchasing behavior concerning shrimps food in Trang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the study were to 1) investigate farmer’s purchasing behavior concerning shrimps food in Trang Province, 2) identify the level of opinion toward fanner’s marketing mix, 3) find out the relationship between shrimp purchasing behavior and farmer’s characteristic and, 4) compare the different of marketing mix classify by the farmer’s characteristic. The survey research was conduct with 820 shrimp’s farmers in Trang Province as the population. The 269 shrimp’s farmer was the sample of the study and collecting data by questionnaire. The frequency count, percentage, and standard deviation as descriptive statistics and F-test and Chi-square test as reference statistics were used as the statistical analysis. The result found that (1) Majority' of shrimp’s farmer in Trang Province used CP. Shrimp food because it has high quality and in case of selecting various trademark depended on the different price, no need to change because the shrimp’s food has high quality, in case of change because they need the high quality of shrimp’s food. Most of them buying shrimp’s food from tile shop, the influencing for decision was the owner, including order 4-7 days/time, credit payment 1 month and received the advertising from the seller. (2) The shrimp’s fanner did not changed the trademark focusing on marketing mix concerning the product, i.e. color of food, the place i.e. the agent near the house and ford transport to the farm at most but other marketing mix, the fanner did not mentioned exception in case of the fanner change the trademark depending on the price (3) The age has relation to the trademark of shrimp food. The education and experiences of culture has relationship to buying the food only on trademark, frequency of purchasing. Area of culture has relationship to buying the food only one trademark. Buying place has relationship to the influence person on the decision and frequency of purchasing. The average cost in 1 culture has relationship to buying the food only one trademark, buying place, and frequency of purchasing. (4) The farmers has different age effected to marketing mix factors concerning the non-different of products, place and promotion; as the whole, when classified each aspect It agrees to effect the different of constant in water of shrimp’s food; The farmers has different education effected to marketing mix factors concerning the different products, places, and promotions; as the whole, when classified each aspect. It agrees to effect the non-different o shrimps growth rate, food feeding efficiently, the agent near the home, food transports, and food servicing to the farm. The fanners has different experiences of culture effected to non-different of products, places, and promotion, as the whole, and each aspect. The fanners has different average cost of 1 culture effected to different of products, places, and promotion as the whole and each aspect. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุจิตรา หังสพฤกษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118856.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License