Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมภพ สัมภาวะผล, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T04:41:01Z-
dc.date.available2023-07-11T04:41:01Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7521-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนื้มีวัตถประสงค์เพี่อ (1) ศึกษาถึงระดับความพึงพอใจของพนักงาน ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด (มหาชน) (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับความพึงพอใจในงาน ของพนักงานธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด (มหาชน) (3) เสนอแนะแนวทางการเสริมสร้างความพึงพอใจ ในงานของพนักงาน ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด (มหาชน) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย พนักงานธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ (มหาชน) จำนวน 217 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ และคำถาม ปลายเปิดเกี่ยวกับองค์ประกอบที่เป็นความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสภาพ แวดล้อมในการทำงาน 2) ด้านความมั่นคง 3) ด้านค่าตอบแทน 4) ด้านความสัมพันธ์กับบุคคลใน หน่วยงาน 5) ด้านความก้าวหน้าจากการปฏิบัติงาน 6) ด้านความสำเร็จในงานสถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์ค่าเอฟ /-test) วิเคราะห์ค่าที (t-test) และวิเคราะห์เนื้อหาสาระ (Content Analysis) ผลการวิจยพบว่า (1) ความพึงพอใจในงานของพนักงานธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด (มหาชน) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านจาก 6 ด้าน มีเพียงด้านเดียวที่ มีความพึงพอใจปานกลาง คือ ด้านค่าตอบแทน (2) ลักษณะส่วนบุคคลด้านเพศ ด้านสถานภาพ ด้านระยะเวลาในการปฎิบัติงานที่แตกต่างกัน มีระดับความพึงพอใจในงานแตกต่างกัน แต่ด้านอายุ และด้านวุฒิการศึกษาที่แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจในงานไม่แตกต่างกัน (3) ลักษณะบริหารงาน ด้านตำแหน่งงาน ด้านรูปแบบสาขา และด้านสถานที่ตั้งของสาขาที่แตกต่างกัน มีระดับความพึงพอใจ ในงานแตกต่างกัน แต่ด้านสถานที่ตั้งสาขาที่แตกต่างกัน มีระดับความพึงพอใจในงานไม่แตกต่างกัน (4) ผลการวิเคราะห์เนื้อหาสาระความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความพึงพอใจในงาน พบว่า ปัญหาด้านค่าตอบแทนในส่วนของเงินเดือนที่พนักงานได้ร้บในปัจจุบันค่อนข้างน้อยเมื่อ กับธนาคารพาณิชย์แห่งอื่น หรือเปรียบเทียบกับปริมาณงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectธนาคารดีบีเอส ไทยทนุth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleความพึงพอใจในงานของพนักงานธนาคาร ดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeJob satisfaction of employees of DBS Thai Danu Bank Public Compamy, Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were threefold ะ (1) to study the satisfaction levels of employees of DBS Thai Danu Bank Public Company Limited (2) to study factors influencing job satisfaction levels of employees of DBS Thai Danu Bank Public Company Limited (3) to suggest the guideline contributing to job satisfaction levels of employees of DBS Thai Danu Bank Public Company Limited The sample group was randomly selected from 217 employees of DTDB. The instruments used were the five - level rating scale questionnaire and the open- ended questions relating factors which were six dimensions of job satisfaction namely ะ (1) working environment (2) working security (3) compensation (4) co-workers relationship (5) career path. (6) success of work statistics used in data analysis, i.e. percentage, mean (X), standard deviation (S.D.), F-test, t-test, content analysis. The result of this research indicated that (1) the overall job satisfaction of employees of DTDB. was in high level. When considering in each dimension, there was only one dimension that revealed moderate satisfaction ะ compensation. (2) personal dimension ะ gender, status, years of employment that differed, showed different levels of job satisfaction while different age and education levels indicated the same level of job satisfaction (3) administration dimension ะ different positions, branch patterns and branch locations were found to be different levels of job satisfaction but the different branch locations showed the same level of job satisfaction (4) the analysis result in contents, opinions and suggestions relating job satisfaction was found that compensation problem in term of present salary was somewhat dissatisfied when compared with other commercial banks or with the amount of worken_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77163.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons