Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจินดาภัทร์ นาคบำรุง, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T06:52:50Z-
dc.date.available2023-07-11T06:52:50Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7533-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เป้าหมาย พฤติกรรม และรูปแบบการออมและการลงทุนเพื่อวัยเกษียณของบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจการออมและการลงทุนเพื่อวัยเกษียณ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับเป้าหมายการออมและการลงทุนเพื่อวัยเกษียณ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ กลุ่มประชากร คือ บุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สำนักงานใหญ่ จำนวนทั้งสิ้น 320 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 175 คน โดยวิธีการสุ่มแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) ผลการวิเคราะห์เป้าหมาย พฤติกรรม และรูปแบบการออมและการลงทุน เพื่อวัยเกษียณ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีเป้าหมายเพื่อใช้ในวัยเกษียณและเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยมีพฤติกรรมในการออมและการลงทุนต่างกันส่วนใหญ่บุคลากรมีความถี่ในการออมและการลงทุนมากกว่า 4 ครั้ง ต่อปี ด้วยจำนวนเงินออมและเงินลงทุนเฉลี่ยต่ำกว่า 2,000 บาท/เดือน ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของเงินฝากหุ้นสหกรณ์ และเงินฝากออมทรัพย์ รองลงมาคือ กองทุนเงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการ การซื้อสลากออมสิน และกองทุนรวมหุ้นระยะยาวและกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจการออมและการลงทุนเพื่อวัยเกษียณพบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติ มีระดับความสำคัญมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านผลตอบแทน และด้านการยอมรับความเสี่ยงตามลำดับ และ (3) อายุและตำแหน่งงานมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในการออมและการลงทุนเพื่อวัยเกษียณ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน--ข้าราชการและพนักงานth_TH
dc.subjectการออมกับการลงทุนth_TH
dc.subjectข้าราชการ--การเกษียณอายุth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการออมและการลงทุนเพื่อวัยเกษียณของบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนสำนักงานใหญ่th_TH
dc.title.alternativeSavings and investment for retirees at the Head Office of Thai Board of Investmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study were to study (1) the goal, behavior, and a pattern of prospective retirement savings and investment at the Thai Board of Investment; (2) the significance level of factors affecting the decision-making on their saving and investment, and (3) the relationship between personal factors and goal of their saving and investment. The population of this survey research were 320 prospective retirees at the Head Office of the Thailand Board of investment. The 175 samples were determined by using the Krejcie & Morgan’s sample size calculation. The sample acquired by using proportionate random sampling method. A constructed questionnaire was an instrument for data collection. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-Square Test. The result of this study indicated that: (1) the analysis result of the goal, behavior and a pattern of their saving and investment revealed that the most of samples with the goal for using in retirement age and for having a better quality of life had different the saving and investment behaviors. Most of them saved and invested more than 4 times per year with average saving and investment fund amount below 2,000 baht per month, mostly saved and invested in the cooperative share deposit and savings deposit, and the Government Pension fund, purchasing the Government Savings Bank’s lotteries, and Long Term Equity Fund and Retirement Mutual Fund; (2) the factors influencing the decision-making on the retirees’ savings and investment showed that the highest significant level factors were attitude followed by economy, return, and risk acceptance, respectively; and (3) the age and position were significantly related to the goal of the retirees’ saving and investment with the statistical significant at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_164022.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons