Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7544
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิระภรณ์ ตันติชัยรัตนกูล | th_TH |
dc.contributor.author | สุมาลี กัลยาณมิตร, 2498- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T07:40:05Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T07:40:05Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7544 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนึ้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ทัศนคติของผู้บริโภคพื่มีต่อการแข่งขันของร้านคิสเคานทัสโตร์ ขนาดใหญ่เกี่ยวกับปัจจัยภายนอกด้านสถานที่ สินค้า คุณค่าของสินค้า บุคลากรและการบริการ การโฆษณาและประซาสัมพันธ์ (2) ปัจจัยภายในองค์กรที่จะนำไปสู่ความเป็นผู้นำด้านต้นทุนตํ่าของร้านคิสเคานทัสโตร์ ขนาดใหญ่ (3) แนวทางการดำเนินธุรกิจและกลยุทธ์การแข่งขันของร้านคิสเคานทัสโตร์ ขนาดใหญ่ในเรดกรุงเทพมหานคร และปริมณทลการศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าและใช้บริการร้านคิสเคานทัสโตร์ ขนาดใหญ่จำนวน 400 ราย คู่ค้าจำนวน 20 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารร้านคิสเคานทัสโตร์ ขนาดใหญ่จำนวน 3 ราย ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และการทดสอบด้วยวิชิการเซฟเฟ (Scheffe's test) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 25-35 ปี รายได้ 5,000-10.000 บาท อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน การศึกษาระด้บปริญญาตรี (2) ผู้บริโภคมีความคิดเห็นโดยรวมในระดับปานกลางต่อการแข่งชันของร้านคิสเคานทัสโตร์ ขนาดใหญ่เกี่ยวกับปัจจัยภายนอก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ในด้านสถานที่สินค้า บุคลากรและการบริการ การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อโลตัล ซูเปอร์เซ็นเตอร์มากกว่าบิกซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ และคาร์ฟูร์ ไฮเปอร์มาร์เก็ต ส่วนด้านคุณค่าของสินค้าผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อ บิกซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ มากกว่าโลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ และคาร์ฟูร์ ไฮเปอร์มาร์เก็ต (3) การวิเคราะห์พาความแตกต่างของทัศนคติของผู้ปริโภคที่มีต่อการแข่งขันเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกพบว่า 3.1) ด้านสถานที่ ผู้บริโภคที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่าง กันสำหรับ โลตัล ซูเปอร์เซ็นเตอร์มากกว่า ส่วนบิกซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้บริโภคที่มีอายุ รายได้และอาชีพต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกัน 3.2) ด้านสินค้า ผู้บริโภคที่มีรายได้ต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันสำหรับบิกซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 3.3) ด้านคุณค่าชองสินค้า ผู้บริโภคเพศชายและหญิงมีความคิดเห็นแตกต่างกันสำหรับคาร์ฟูร์ ไฮเปอร์มาร์เก็ต 3.4) ด้านบุคลากรและการบริการ ผู้บริโภคที่มีอายุและการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันสำหรับ บิกซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 3.5) ด้านการโมษณาและประซาสัมพันธ์ ผู้บริโภคที่มีอาชีพต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันสำหรับ บิกซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (4) ร้านคิสเคานท์สโตร์ ขนาดใหญ่แต่ละร้านมความแตกต่างกันด้านระบบการจัดการการกระจายสินค้า ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ความสัมพันธ์อันดีกับคู่ค้า ซึ่งเป็นปัจจัยภายในองค์กรที่นำไปสู่กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต้นทุนต่ำ (5) กลยุทธ์ด้านราคาเป็นปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ในการแข่งขัน นโยบายหลักยังคงเน้นการขยายสาขา อุปสรรคในการดำเนินธุรกิจสื่อการแข่งขันที่รุนแรง ปัจจัยภายในองค์กรและกระแสต่อด้านจากผู้ค้าปลีกรายย่อย ดังนั้นในการวางแผนกลยุทธ์การแข่งขันทางการตลาดของร้านดิสเคานท์ทัสโตร์ ขนาดใหญ่จะต้องสอดคล้องกับทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อปัจจัยภายนอกที่สร้างความแตกต่าง และสอดคล้องกับปัจจัยภายในองค์กรที่นำไปสู่ความเป็นผู้นำด้านต้นทุนต่ำ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแข่งขันทางการค้า | th_TH |
dc.title | ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการแข่งขันทางการตลาดของร้านดิสเคานท์สโตร์ขนาดใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | th_TH |
dc.title.alternative | Consumers' attitudes tiwards marketing competition of large discount stores in Bangkok and its vicinity | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were (1) to find out consumers’ attitudes towards marketing competition of large discount stores in Bangkok and its vicinity in external factors i.e. place, goods, price and value, staff and service, advertising and public relations; (2) to find out internal factors that made large discount store to be the cost leadership; (3) to find out competitive strategies. This study was survey research. The sample were selected using sampling technique. The data were collected by means of questionnaires from 400 consumers, 20 suppliers. The data from 3 directors of large discount store were collected by depth interview. SPSS/PC computer program was used to calculate the percentage, mean, standard deviation. ANOVA and the Scheffe’s. The findings were as follows: (1) Most of the consumers were female, aged 25-35 years, worked as corporate’s employee, held a bachelor degree, had an income 5.000-10,000 Baht per month. (2) The consumers’ level of attitude in external factors was moderate. The consumers’ rating in place, goods, staff and service, advertising and public relations factor for Lotus Supercenter is more than Big-C Supercenter and Carrefour Hypermarket, in pnce and value the consumers’ rating for Big-C Supercenter is more than Lotus Supercenter and Carrefour Hypermarket. (3) Differences in consumers’ attitude in external factors were found 3.1) Place factor: aged found to be different for Lotus Supercenter and for Big-C Supercenter adged, income and occupation found to be different. 3.2) Goods factor income found to be different for Big-C Supercenter. 3.3) Price and value factor: gender found to be different for Carrefour Hypermarket. 3.4) Staff and services factor: aged and education found to be different for Big-C Supercenter. 3.5) Advertising and public relations factor: occupation found to be different for Big-C Supercenler. (4) Lotus Supercenter. Big-C Supercenter and Carrefour Hypermarket were found to be different in internal factors. (5) Pnce strategy was the important strategic competition. Expandation new branches continually was the company policy in order to provide substantial service to all target customers. High competition, internal factors and small retailers' resistance were their business problems. The suggestion was: For competitive advantage and company succession, the competitive strategies should match consumers' attitudes in external factors i.e. place, goods, price and value, staff and service, advertising and public relations and internal factors i.e. logistic system, information technology system and suppliers’ relationship that cause to be the cost leadership. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ฉัตรชัย ดวงรัตนพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | วิเชียร เลิศโภคนนท์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License