Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/756
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณธนา ซื่อตรง, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T08:38:51Z-
dc.date.available2022-08-18T08:38:51Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/756-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความ (ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตย แบบมีส่วนร่วมของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) (3) เพื่อศึกษาผลทางการเมืองที่เกิดขึ้นตามมาของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) (4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมกับผลทางการเมืองที่เกิดขึ้นตามมาของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยด้านการเป็นผู้นำท้องถิ่นมีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (3) ผลทางการเมืองที่เกิดขึ้นตามมาในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับ ปานกลาง โดยประชาชนแสดงออกถึงความพึงพอใจผู้แทนของตน โดยการออกไปใช้สิทธ์เลือกตั้งเพิ่มมากขึ้น(4) ความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์กับผลทางการเมืองที่เกิดขึ้นตามมาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.349-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประชาธิปไตย--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง--ไทย--สมุทรปราการ (พระสมุทรเจดีย์)th_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุข--ไทย--สมุทรปราการ (พระสมุทรเจดีย์)th_TH
dc.titleความรู้ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) กับผลทางการเมืองที่เกิดขึ้นตามมา : ศึกษาเฉพาะกรณีอำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeKnowledge and understanding of participatory democracy of the village health volunteers and the political impact : a case study of Amphoe Phra Samut Chedi, Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.349-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the knowledge and understanding of participatory democracy of village health volunteers; (2) factors that affected the knowledge and understanding of participatory democracy of village health volunteers; (3) the political impact of the village health volunteers; and (4) the relationship between knowledge and understanding of participatory democracy and the political impact. The results showed that: (1) the sample had a high level of knowledge and understanding about participatory democracy. (2) The factor of being a local leader was related to knowledge and understanding of participatory democracy to a statistically significant level of .05. Personal factors and the factor of exposure to political news were not found to be related to knowledge and understanding of participatory democracy. (3) Overall, the political impact of the village health volunteers was medium. Citizens expressed their satisfaction with their representatives by using their rights to vote to a greater extent. (4) Knowledge and understanding of participatory democracy was related to the political impact to a statistically significant level of .05.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
96415.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons