Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7570
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรชพร รัตนาวิวัฒน์พงศ์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T02:10:09Z-
dc.date.available2023-07-12T02:10:09Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7570-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฎิบัติงาน ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการสร้างแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงาน และเพื่อเสนอแนะแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับหัวหน้าของ บริษัทตัวแทนโฆษณาแห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วยพนักงานระดับหัวหน้าจาก บริษัทตัวแทนโฆษณา จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบประเมินค่าเกี่ยวกับองค์ประกอบที่เป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 8 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านค่าตอบแทน 2) ด้านความมั่นคงของบริษัท 3) ด้านความมีชื่อเสียงของบริษัท 4) ด้านโอกาสความก้าวหน้าในงาน 5) ด้านความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน 6) ด้านการได้รับโอกาสพัฒนา/ความรู้ 7) ด้านการ ยอมรับและยกย่อง และ 8) ด้านนโยบายการบริหารงานของบริษัทผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเชื่อมั่น 0.89 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต (X ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviateก [S.D-B สถิติทดสอบค่า t (t-test) วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว Onevay Analysis of Variance (ANOVA) โดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSSTW และวิเคราะห์เนื้อหาสาระ (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า (1) แรงจูงใจการปฏิบัติงานของพนักงานระดับหัวหน้าของ บริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยทั้ง 8 ด้าน มีระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานปานกลาง และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า มีระดับแรงจูงใจที่อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ซึ่งสอดคล้องกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวม (2) ลักษณะบุคคลด้านเพศ ด้านประสบการณ์การทำงานที่แตกต่างกัน มีระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน แต่ลักษณะบุคคลด้านอายุ ด้านระดับการศึกษา และด้านจำนวนครั้งที่เปลี่ยนงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 (3 ลักษณะงานที่แตกต่างกัน มีระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 (4) ขนาดขององค์กรที่แตกต่างกัน มีระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน (5) ผลการวิเคราะห์เนื้อหาสาระ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับหัวหน้างาน บรรยากาศในการทำงาน และการ ปกครองของผู้บังคับบัญชายังเป็นแรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของบริษัทตัวแทนโฆษณาเป็นอย่างยิ่งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทตัวแทนโฆษณาth_TH
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับหัวหน้างานของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeWorking motivation factors of management level in advertising agencies in Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis objectives of this research were: 1) to study the levels of working motivation 2) to study the influences in working motivation and 3) to recommend guidences of working motivation of the management level in advertising agencies in Thailand. Samples of 382 supervisors were randomly selected from small ; medium and large ayency size. The self -administered questionnaire were used as method of data collection. There were 8 factors of working motivation included in this research ; namely. 1) perceived benefits 2) company status 3) company reputation 4) future career path 5) empowerment 6)opportunity for further training 7) self-esteem and 8) administrative policy of the company. Test for reliability of the questionnaire yielded results of Cronbach alpha .89. Statistical methods used research : were: mean (X); standard deviation (S.D); t-test analysis; and ANOVA analysis. Data analysis was processed by using SPSS/FW statistical package. Content analysis was also carried out. Results of this research were as followed: 1) each motivation factor was found to be moderate, which agreed with the overall level of motivation. 2) gender and working experiences differences did not affected the level of motivation while the differences in ages, educational level, and number of previous jobs done at significant level .05. 3) different jobs resulted in different level of motivation. 4) there were differences in level of motivation among supervisors of the organizations with the different in size. 5) the content analysis revealed that the relationship with co- workers, workplace environment, and administrative style affected the employees' level of motivationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77510.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons