Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorภาณุวัฒน์ วงศาโรจน์, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T02:37:00Z-
dc.date.available2023-07-12T02:37:00Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7574en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมของผู้บริโภคกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ รูปแบบการดำเนินชีวิตและส่วนประสมการตลาดของธุรกิจบริการซักอบรีดในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ใช้บริการซักอบรีดที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนรวม 400 โดยเครื่องมือในการทำวิจัยจะใช้แบบสอบถาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ส่วน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาหา ค่าทางสถิติ และใช้สถิติเชิงอนุมานหาความสัมพันร์ระหว่างตัวแปรที่สนใจศึกษา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSSกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้บริการซักอบรีดในเขตกรุงเทพมหานคร ที่ศึกษามีจำนวน 400 คน แบ่งเป็นผู้ชาย 164 คน และผู้หญิง 236 คน ส่วนมากมีอายุ 25-30 ปี สถานภาพโสด มีรายได้ต่อครอบครัว 15,000-30,000 บาท อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และมีสมาชิกในครอบครัว 4 คน ขึ้นไป จากผลการศึกษา สามารถสรุปผลได้ดังนี้ ช่วงเวลาที่ใช้บริการฯ มีความสัมพันธ์กับ อายุ รายได้ต่อครอบครัว ราคาต่อหน่วย และการส่งเสริมการตลาด ความถี่ที่ใช้บริการฯ มีความสัมพันธ์กับ อาชีพ รายได้ต่อครอบครัว เวลาที่ใช้เดินทาง การต้อนรับของพนักงาน และทำเลที่ตั้งสะดวกต่อการเดินทาง และงบประมาณค่าใช้บริการต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส รายได้ต่อครอบครัว เวลาที่ใช้เดินทาง ความสนใจต่อการซักผ้าเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมซักอบรีดเสื้อผ้าth_TH
dc.subjectการซักรีดth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเกี่ยวกับการใช้บริการซักอบรีดของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeStudy of consumer behavior of laundry service consumption in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research are to study the relationship among the consumer behavior, demographic, life style and marketing mix of laundry sendee business in Bangkok. The sampling group is the Thai people who use laundry service and live in Bangkok total of 400 persons. The involved research instrument is questionnaire, divided into four categories. The data were analyzed by using descriptive statistics for statistical data and inferential statistics for hypothesis testing which processed by computer program SPSS. The result were that there are 164 men and 263 women consumer who are mostly 25-30 years old, single, having family income Baht 10,000-30,000, working in private companies, bachelor-graduated and having more than four people family size. The result of this study concluded that consumer service using period related to age, family income, unit price and marketing promotion. Frequency of service using related to occupation, family income, trip time, reception and location. Monthly budget related to age, occupation, status, family income, trip time and interest of self-washing.en_US
dc.contributor.coadvisorสมนึก จันทรประทินth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77511.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons