Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา ผลประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดรุณี สุดปราง, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T08:42:27Z-
dc.date.available2022-08-18T08:42:27Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/757-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณที่สนับสนุนด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง และ 2) ความต้องการจําเป็นตามความคิดเห็นของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยเทศบาลตำบลท่ายาง วิธีดำเนินการวิจัยครั้งนี้ แบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ระยะกำหนดกรอบแนวคิดของการ ประเมินความต้องการ จำเป็นใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสนทนากลุ่มเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา เพื่อศึกษาสถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอย และประเด็นความต้องการจําเป็น เพื่อนําไปสร้างแบบสอบถาม ระยะที่ 2 ระยะประเมินความต้องการจําเป็น เป็นวิธีการวิจัยเชิงปริมาณจากประชาชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 350 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา 0.89 วิเคราะห์ความต้องการ จําเป็นตามความคิดเห็นของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย ด้วยสถิติดัชนีความต้องการจําเป็น PNI ผลการศึกษา พบว่า 12 สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลท่ายาง มีการดำเนินการเองและจ้างเหมา มีการปฏิบัติงานไม่สม่ำเสมอ มีขยะตกค้างส่งกลิ่นเหม็น ขาดประสิทธิภาพในการแยกขยะ ถังขยะไม่เพียงพอและชำรุด ประชาชนมีพฤติกรรมการ ขยะไม่ถูกต้อง ไม่แยกขยะก่อนทิ้ง จัดขยะโดยการเผา กลุ่มสนทนาเสนอให้มีการสํารวจและจัดให้มีถังขยะอย่างเหมาะสม เทศบาล ปรับปรุงการจัดการขยะ รณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมและนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ต่างๆ และ 2) ความต้องการ จําเป็นตามความคิดเห็นของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย ด้านสถานการณ์ปัญหา ประชาชนมีความต้องการจําเป็นในการแก้ไขปัญหาสุนัขคุ้ยเขี่ยถังขยะ ขยะล้นถังส่งกลิ่นรบกวน ถังขยะไม่เพียงพอ ด้านการจัดการขยะของเจ้าหน้าที่ต้องการ ให้มีการกวาดถนนอย่างสม่ำเสมอ เก็บขนขยะและแยกขยะให้เรียบร้อย ด้านการจัดการขยะของประชาชนต้องการให้รณรงค์นำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ คัดแยกขยะ เพื่อจำหน่าย รวบรวมขยะเพื่อรอการเก็บจากเทศบาล ด้านรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย ต้องการให้จัดวางถังขยะแบบมีฝาปิดถังขยะแยกประเภท ทำถนนปลอดถังขยะ การเทขยะมาเพื่อจําหน่าย การธนาคารขยะส่งเสริมการคัดแยกขยะ จ้างเหมาชุมชนกวาดขยะ ครัวเรือนลดและแยกขยะ การรวบรวมขยะใส่ถุงวางหน้าบ้านตามเวลาให้เทศบาลมาเก็บขนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.5-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการกำจัดขยะth_TH
dc.titleการประเมินความต้องการจำเป็นตามความคิดเห็นของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย เทศบาลตำบลท่ายาง จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeNeeds assessment in solid waste management as perceived by the people in Thayang Municipality, Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.5-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quantitative and qualitative research were to: (1) study solid waste management situation; and (2) conduct needs assessment as perceived by the people in solid waste management of the Thayang Municipality. The methodology of this research was divided into 2 phases. Phase I, determining the conceptual framework of needs assessment using the qualitative method through group discussion as a study instrument and for data collection; data were analyzed to find out the waste management situation and needs in order to construct a questionnaire. Phase 2, assessing the people’s needs using the quantitative method among 350 people who had been selected using the stratified random sampling method, the questionnaire used for data collection had Cronbach’s alpha reliability coefficient of 0.89. The needs assessment as perceived by the people in waste management was analyzed using the priority need index (PNI) approach. The findings showed that: (1) Thayang Municipality had its solid waste management undertaken by itself and by contracting out. The practice was irregular, resulting in leftover (uncollected) waste with stencfr inefficient waste segregation, an inadequate number of trash bins (some were defective), people’s incorrect waste disposal behaviors (not segregating the waste before discarding); and disposing waste by open burning. The group discussion suggested that a survey and provision of adequate trash bins should be done; and the Municipality should improve its solid waste management and conduct a public campaign in order to encourage public participation and waste recycling. (2) The needs assessment as perceived by the people in solid waste management was analyzed in various aspects including which revealed that there were problems of trash scrabbling by dogs, excessively leftover waste with stench due to inadequate number of trash bins; regarding the solid waste management, the people needed regular street sweeping, regular waste collection, and appropriate waste segregation; concerning people’s waste management, they needed campaigns on waste recycling, waste segregation for sale, proper waste collection by households while waiting to be collected by municipal garbage trucks; in connection with the waste management model, the trash bins should have lids or covers, having different bins for different kinds of waste, setting up trash-free streets, waste-based fertilizer production for sale, a waste bank for waste segregation promotion, contracting the community for street sweeping, household waste reduction and segregation, and punctuality in placing solid waste bags in front of the houses for municipal collectionen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127870.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons