Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรศรี ศรีอัษฎาพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพวงยุพา ยิ้มเจริญ, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T08:50:51Z-
dc.date.available2022-08-18T08:50:51Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/759-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (บริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาบทบาทสู่การเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรหน่วยศัลยกรรมเด็ก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยรัฐแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมเด็ก จำนวน 14 คน ได้แก่ พยาบาลระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์เป็นหัวหน้าเวร ตั้งแต่1 ปี ขึ้นไป 10 คน พยาบาลระดับบริหาร 2 คน และอาจารย์แพทย์ 2 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ตามแนวคำถามหลักที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้เวลาสัมภาษณ์ 30-60 นาทีต่อคน ผู้วิจัยถอดเทปแบบคําต่อคํา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบทบาทสู่การเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรศัลยกรรมเด็ก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย 1) การเตรียมก่อนเข้าสู่ตําแหน่งหัวหน้าเวร ซึ่งมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมโดยหน่วยงานและการเตรียมตนเอง ดังนี้ (1) การคัดเลือกพยาบาลที่มี “แวว” มาฝึกปฏิบัติงานที่เป็นหน้าที่ของหัวหน้าเวรกับรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์สูง (2) เริ่มให้เป็นหัวหน้าเวรตัวจริงโดยให้ขึ้นกับเพื่อนรุ่นเดียวกัน และการเตรียมตนเอง ได้แก่ (3) เรียนรู้โดยการสังเกตการปฏิบัติงาน พูดคุยซักถามรุ่นพี่ และจัดบันทึก (4) ศึกษาค้นคว้าจากการอ่านหนังสือและสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต 2) การพัฒนาบทบาทของการเป็นหัวหน้าเวรในระหว่างการปฏิบัติงาน ได้แก่ การขอความช่วยเหลือขณะทําหน้าที่หัวหน้าเวรมือใหม่ ทั้งจากรุ่นพี่ หัวหน้าตึก และผู้ช่วยพยาบาลอาวุโส 3) การจัดการกับอารมณ์ ความรู้สึกของ “หัวหน้าเวรมือใหม่” ได้แก่ (1) เตรียมตัวดีอย่างไร ก็ยังรู้สึกว่าไม่พร้อมตื่นเต้น วิตกกังวล กลัว เครียด ไม่มันใจเมื่อต้องพบกับเคสยาก ๆ (2) การเป็นหัวหน้าเวรมากับวุฒิภาวะ และ 4) สิ ั ่งที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กบ ั “ว่าที่” หัวหน้าเวร ได้แก่ (1) การใช้รูปแบบการพยาบาลเซลคอนเซ็ป (2) การได้รับโอกาสฝึกอบรมและเพิ่มพูนความรู้ ระหว่างปฏิบัติงานตั้งแต่เป็นพยาบาลจบใหม่ (3) การฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการการพยาบาลเมื่อเป็นนักศึกษาพยาบาลปีที่ 4 นอกจากนี้ยังมีสิ่งเสริมสร้างความแข็งแกร่ง จากความคิดเห็นข้อเสนอแนะ จากผู้ที่เคยปฏิบัติงานเป็นหัวหน้าเวร คือ (4) พยาบาลหัวหน้าเวรใหม่ต้องการพี่เลี้ยงที่มีความพร้อมในการสอน ใจเย็น ควบคุมอารมณ์ได้ดี รวมทั้งการให้น้องมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมและ (5) การได้รับข้อมูลป้อนกลับที่ชัดเจน เพื่อนำมาพัฒนาตนเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.117-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectหัวหน้าพยาบาล--การบริหารth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยรัฐ--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการพัฒนาบทบาทสู่การเป็นพยาบาลหัวหน้าเวร หน่วยศัลยกรรมเด็ก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยรัฐ แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe role development towards being in-charge nurses of pediatric surgery department at a Government University Hospital in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.117-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis qualitative research aimed to study role development to be in-charge nurses of the pediatric surgery department of a government university hospital in Bangkok Metropolis. A sample consisted of fourteen key informants whose work related to take care of pediatric patients undergoing surgical treatment, including ten professional nurses who had experienced as in-charge nurses for more than 1 year, two nurse administrators, and two pediatricians. In-depth-interview was used for collecting data. It took 30-60 minutes for each interview. Content analysis was used to derive themes and summary of the influencing factors. The results showed that four factors associated to role development to be in-charge nurse were as follows. 1) Preparation before positioning both from the department and nurses themselves: (1) The Department selected and trained the qualified professional nurses by senior professional nurses, (2) these nurses started to work as in-charge nurses with their friends, Nurses prepared themselves by (3) learning from senior nurses by observation, asking the questions and taking a note, (4) reading from textbooks and searching the information from the Internet. 2) Nurses developed their in-service roles by asking for help from senior nurses. 3) Nurses controlled their emotion for their new positioning as follows. (1) Although they prepared themselves very well, they were still excited and scared. They had anxiety, stress, and less confidence when facing with serious cases., (2) They felt that being incharge nurses made them mature. 4) Factors strengthening the new in-charge nurses were as follows: (1) utilization of a cell concept model, (2) in-services education, training, and coaching for new nurses, (3) leadership practicum for fourth year nursing students, In addition factors strengthening the new in-charge nurses from old in-charge nurses are (4 ) the new in-charge nurses wanted mentors who were wellrounded, good natured trainers, and allowed new in-charge nurses to participate in the training process.and (5) receiving explicit feedbacks for improvementen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 155172.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons