Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนีรนาท ศรีชุมพร, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T07:21:59Z-
dc.date.available2023-07-12T07:21:59Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7600en_US
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระ เรื่อง การศึกษากลยุทธ์การตลาดไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาตลาดไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อวิเคราะห์กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่ วิธีการศึกษา ทำการศึกษาโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจโดยประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่วิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1)ประซากรที่เป็นผู้ผลิตไม้คอกไม้ประดับในเขตอำเภอ เชียงใหม่ 2 ประชากรที่เป็นผู้จำหน่าย หรือ ผู้ด้าส่ง ในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 90 ราย ยมีเนื้อหาที่ศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลทางการตลาดทั้งภายในจังหวัดเชียงใหม่และผู้ผลิตไม้ประดับรายใหญ่ในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และผู้จำหน่ายไม้ดอกไม้ประดับในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยศึกษาถึงวิธีการ การวางแผน ที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจจำหน่ายไม้ดอกไม้ประดับที่คำนึงถึงด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่ และด้านการจำหน่ายโดยการใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่มาตรวัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปซึ่งลักษณะแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม2) แบบสอบถามศึกษาตลาดและวิเคราะห์กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่ วิธีสร้างเครื่องมือ โดยกำหนดจุดมุ่งหมายศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสร้างแบบสอบถามตรวจแบบสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญปรับปรุงและทดลองใช้จัดเก็บข้อมูล วิธีดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยคัดเลือกพื้นที่ในการศึกษาติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการนำแบบสอบถามไปเก็บข้อมูลจากผู้ผลิตและผู้จำหน่ายทำการตรวจสอบข้อมูลทั้งหมดและจัดเก็บข้อมูลเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลในโปรแกรมสำเร็จรูป โดยผู้ศึกษาเป็นผู้บันทึกและจัดเก็บข้อมูลด้วยตนเองแล้วนำผลที่ได้มาทำการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลด้วยสถิติ ค่าสถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจากการศึกษาพบว่า กลยุทธ์การตลาดไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่ ระดับ ความคิดเห็นในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับปานกลาง ผู้ตอบแบบสอบถามเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 35-44 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ รายได้อยู่ระหว่าง 5.001-10,000 บาท ระยะเวลาการทำงานอยู่ระหว่าง 7-9 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectไม้ดอก--การตลาดth_TH
dc.subjectไม้ตัดดอก--การตลาดth_TH
dc.subjectไม้ประดับ--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการศึกษากลยุทธ์การตลาดไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeA study of ornamental marketing strategy in Chaing Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_112506.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons