Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7602
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจิตพรรณ กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorนิพนธ์ ชั่งใจ, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2023-07-12T07:27:42Z-
dc.date.available2023-07-12T07:27:42Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7602en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนาระบบหาตำแหน่งสัตว์เลี้ยง โดยใช้เทคโนโลยีซิกบีแบบจุดต่อจุดและจีพีเอส เพื่อให้สามารถแจ้งเตือนเมื่อสัตว์เลี้ยงออกนอกบริเวณที่กำหนด สามารถระบุตำแหน่งเมื่อสัตว์เลี้ยงอยู่ภายนอกอาคารได้ และแสดงตำแหน่งของสัตว์เลี้ยงผ่านแผนที่กูเกิล และ 2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบหาตำแหน่งสัตว์เลี้ยงโดยใช้เทคโนโลยีซิกบีแบบจุดต่อจุดและจีพีเอส ในการพัฒนาอุปกรณ์ต้นแบบภาครับสัญญาณประกอบด้วยบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESPino32 และโมดูลซิกบี XBee S2CTH และพัฒนาอุปกรณ์ภาคส่งสัญญาณที่ติดตั้งอยู่กับสัตว์เลี้ยงโดยใช้บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Nano 3.1 โมดูลซิกบี XBee S2CTH โมดูลระบุพิกัด GPS L86 GNSS GPS Breakout และ โมดูลเครือข่ายสื่อสาร 3G UC15-T โมดูลซิกบี XBee S2CTH ทั้งสองโมดูลมีโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด งานวิจัยนี้มีการประเมินประสิทธิภาพของระบบที่พัฒนาขึ้นโดยการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อค่าความแรงของสัญญาณที่รับได้ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ประกอบด้วย 1) ภายนอกอาคารไม่มีสิ่งกีดขวาง 2) ภายในบ้านพักอาศัยไม่มีสิ่งกีดขวาง 3) ภายในบ้านพักอาศัยที่มีสิ่งกีดขวาง และ 4) อาคารสำนักงานและสถานที่ชุมชน และการประเมินประสิทธิภาพจากค่าความคลาดเคลื่อนของตำแหน่งที่ระบุได้จากอุปกรณ์ต้นแบบสาหรับใช้ในการหาตำแหน่งสัตว์เลี้ยงเทียบกับตำแหน่งที่แสดงโดยใช้เทคโนโลยี A-GPS ในโทรศัพท์เคลื่อนที่ จากการวิจัยพบว่ามีการส่งข้อความแจ้งเตือนเมื่อสัตว์เลี้ยงออกนอกบริเวณไปไกล 11-12 เมตร ที่ค่าความแรงของสัญญาณที่รับได้มีค่าเป็น -80 dBm และตำแหน่งที่ระบุได้จากอุปกรณ์ต้นแบบมีความแม่นยากว่าตำแหน่งที่ได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่ และมีค่าความคลาดเคลื่อนจากตำแหน่งจริงเฉลี่ยที่ 2.1 เมตรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectระบบกำหนดตำแหน่งบนโลกth_TH
dc.subjectสัตว์เลี้ยง--ระบบติดตามth_TH
dc.titleระบบหาตำแหน่งสัตว์เลี้ยง โดยใช้เทคโนโลยีซิกบีแบบจุดต่อจุดและจีพีเอสth_TH
dc.title.alternativePet localization system using peer-to-peer-based ZigBee and GPS technologyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to develop 1) a pet localization system using a peer-to-peer (P2P) based on ZigBee and GPS technology to notify when pets roamed outside their designated enclosures, to identify pets’ location when they were outside, and to display pets’ location on Google Map and 2) to evaluate efficiency of pet localization system using a peer-to-peer based ZigBee and GPS technology. The prototype module of the sink device comprised of ESPino32 microcontroller and XBee S2CTH ZigBee modules. The prototype module of the target device attached to a pet was developed using Arduino Nano 3.1 microcontroller, XBee S2CTH Zigbee modules, L86 GNSS GPS Breakout GPS localization module and UC15-T 3G modules. The XBee S2CTH ZigBee modules at both ends were peer-to-peer connected. The performance of the developed system was evaluated by analyzing factors affecting Received Signal Strength Indication (RSSI) in various environments including 1) LOS outdoor areas, 2) LOS residential areas, 3) NLOS residential areas, and 4) office building and public areas. Additionally, errors between GPS locations retrieved from the developed system and A-GPS locations retrieved from the reference mobile phone were analyzed. The research found that the alert notifications from the target device were transmitted when pets were approximately 11-12 meters out of range at the RSSI value of -80 dBm. Furthermore, locations retrieved from the developed system were more accurate than locations retrieved from the mobile phone with average errors of 2.1 meters from pet’s locationen_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons