Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7624
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอาภัสนันท์ แก้วสว่าง, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T01:30:32Z-
dc.date.available2023-07-13T01:30:32Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7624-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวภายใน ประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ ความคิดเห็นและความพึงพอใจในการท่องเที่ยว 2) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะทางประชากรและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของ นักท่องเที่ยว และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเที่ยวภายในประเทศ 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง ประชากรและความคิดเห็นกับความพึงพอใจในการท่องเที่ยว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ประชากรที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร 10 เขต รวมทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าความสัมพันธ์ไค-สแควร์ และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงชอบเดินทางท่องเที่ยวเพื่อความเพลิดเพลิน/ พักผ่อนและเป็นคนโสดมีการศึกษาระดับปริญญาตรี ชอบเที่ยวทางธรรมชาติได้แก่ทะเล และเกาะ ปัจจัยที่มีอิทธิพล ในการตัดสินใจเที่ยว ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์(บริการ) ปัจจัยด้านราคา และ ปัจจัยด้านส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ สำหรับด้านความคิดเห็นที่มีต่อการท่องเที่ยวภายในประเทศ พบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยอย่างมาก ที่ว่าการท่องเที่ยวเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศให้มีเงินตราหมุนเวียนภายในประเทศ นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่เป็นทะเล และเกาะมากที่สุด 2) การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ ต่างกันจะมีพฤติกรรมการท่องเที่ยวที่ต่างกันอย่างมีนัย สำคัญ 3) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ เที่ยวภายในประเทศพบว่า พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่ต่างกันให้ความสำคัญต่อปัจจัยในการตัดสินใจเที่ยว ภายในประเทศต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ 4) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประจำกรกับ ความคิดเห็นและความพึงพอใจในการท่องเที่ยว พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ สถานภาพสมรส และระดับ การศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อการท่องเที่ยวภายในประเทศต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และ กลุ่มตัวอย่างที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ต่างกันมีความพึงพอใจในการท่องเที่ยวภายในประเทศต่างกันอย่างมีนัยสำคัญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยว -- ไทยth_TH
dc.titleพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวภายในประเทศ : ศึกษาเฉพาะประชากรในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThai tourists' behavior in domestic tourism : a case study of consumer in Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are 1) to study Thai tourists’ behavior, influential factors affecting their decisions, opinions and satisfaction in domestic tourism; 2) to investigate the relationship between Thai tourists' personal data and their behavior in domestic tourism; 3) to examine the relationship between influential factors affecting Thai tourists' decision-making processes and their behavior in domestic tourism; and 4) to analyze the relationship between Thai tourists' personal data, opinions and satisfaction in domestic tourism. The closed-ended questionnaire was distributed among 400 domestic subjects from ten districts of the greater Bangkok metropolis. The questionnaire was designed to gather targeted data to be utilized as a collection mechanism of domestic tourism behavior. Descriptive and inferential statistics namely Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation , Chi-Square and One-way ANOVA were used for data analysis. The results of the samplings indicate the following: First of all the . research shows that Thai female tourists are likely to travel for entertainment and relaxation purposes. Single female subjects with undergraduate degrees are likely to prefer nature destinations, such as beaches and islands, to any man-made destinations. Moreover, the research indicates that among influential factors affecting Thai tourists’ preferences on domestic tourism are product/service, price and promotion factors respectively. The majority of the subjects believe that domestic travelling encourages a speedy economic recovery. Also, the subjects are most satisfied with nature destinations for tourism such as the beaches and islands. Second of all, the research shows that the correlation between Thai tourists' personal data and their behavior in domestic tourism is significant. Thirdly, the influential factors affecting Thai tourists decision-making has significance with regards to their behavior in domestic tourism. The statistics indicate the significance of demographic and socioeconomic segmentations on the subjects’ choice of destinations. Lastly, the correlation study of personal data, opinions and satisfaction levels of domestic tourism is significant to the subjects’ respective preferred destinationsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
78616.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons