Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7630
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิ่งพร ทองใบ | th_TH |
dc.contributor.author | สุนารี เอกวิทยานุรักษ์, 2503- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-13T02:37:03Z | - |
dc.date.available | 2023-07-13T02:37:03Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7630 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานภายหลังการแปลงสภาพจากการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) เป็นบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน และ 3) เสนอแนะในการปรับปรุง หรือ สร้างความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็น พนักงาน ปตท. ในสำนักงานใหญ่่ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น จำนวน 389 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.047 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่น 0.9358 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัช ฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน ปตท. หลังการแปลงสภาพรัฐวิสาหกิจ ภาพรวม จัดอยู่ในระดับค่อนข้างมาก ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.69 โดยเรียงลำดับความพึงพอใจในการ ทำงานของแต่ละปัจจัยจากมากไปน้อย ดังนี้ ปัจจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน ความสำเร็จในงานความรับผิดชอบต่องาน ลักษณะงาน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร ความรู้สึกยอมรับ ค่าตอบแทน สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ การบังคับบัญชา นโยบายทรัพยากรมนุษย์ และโอกาสก้าวหน้าในงาน (2) พนักงานบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ที่มี เพศ สถานภาพการสมรส ระยะเวลาทำงานใน ปตท. ต่างกัน มีความพึงพอใจในการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) พนักงานบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ที่มีระดับตำแหน่ง สถานภาพทางอาชีพ และสถานที่ปฏิบัติงานหลักต่างกัน มีความพึงพอใจในการทำงานแตก ต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) การสร้างความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน ควรให้พนักงานมีส่วนร่วมในนโยบายทรัพยากรมนุษย์ และฝ่ายบริหารควรจัดให้มีการพัฒนาสายอาชีพที่ชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริษัทปตท.--พนักงาน--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานภายหลังการแปลงสภาพรัฐวิสาหกิจ เป็นบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Job satisfaction of the PTT Public Company Limited's employees after privatization | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were 1) to study employees’ job satisfaction level of The PTT Public Company Limited after privatization from Petroleum Authority of Thailand (PTT), 2) to study the factors that influence employees’ job satisfaction; and 3) to suggest how to improve or create employees’ job satisfaction. The samples were 389 employees in all business units: Head Office, Gas business unit , Oil business unit, Petrochemical business unit obtained by multi – stage random samplings, with the standard error equal to 0.047. The research instrument used was a set of questionnaires (reliability level at 0.9358). The data was analyzed by the means of frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t - test, One Way ANOVA, multi comparison with Scheffe's method. Survey results showed that (1) The over all of PTT's employees job satisfaction level after privatization considered was rather high at 3.69 mean. The rank from higher to lower of job satisfaction level of each factors was as follows: working environment, achievement, job responsibility, work itself, interpersonal relationship, recognition, remunerations/ welfare/ benefits, supervision, human resources policy, and job advancement and opportunity. 2) Employees whose sex, marital status, working year in PTT were different have the level of job satisfaction different significantly at .05. (3) Employees whose position level, occupational status, working area were different have the level of job satisfaction different significantly at .05. (4) To improve or create employees’ job satisfaction by having employees’ participation in human resource policy and a clear career path development provided by managerial department. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License