Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจีภาวดี ประจักษ์ศุภนิติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแววตา ประพัทธ์ศร, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T03:40:03Z-
dc.date.available2023-07-13T03:40:03Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7640-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ได้รูปแบบการดำเนินงานและการจัดองค์การ เพื่อรองรับการให้ บริการยื่นคำขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (2) เปรียบเทียบการปฏิบัติงานก่อน และหลังการให้บริการยื่นคำขออนุญาต ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (3) ให้ได้รูปแบบการจัดองค์การที่เหมาะสม หากมีการนำระบบการให้บริการยื่นคำขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ (4) เป็นการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ และผู้ประกอบการที่จะใช้บริการยื่นคำขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์โครงสร้างองค์การ กระบวนการทำงาน และการปฏิบัติงานของการให้บริการในปัจจุบัน พร้อม ทั้งศึกษากระบวนการทำงานของกรมสรรพากร และกรมศุลกากร ซึ่งมีการให้บริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนั้นยังได้ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพิจารณาออกแบบกระบวนการทำงานใหม่่ รวมทั้งรูปแบบ การจัดองค์การและระบบงานที่เหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า โครงสร้างองค์การเดิมสามารถรองรับระบบงานใหม่ในการให้บริการยื่นคำขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยทุกส่วนงานยังคงรับผิดชอบงานเดิม แต่ปริมาณงานจะลดลง โดยเฉพาะในความรับผิดชอบของ กลุ่มงานบริหารทั่วไปในส่วนงานบริการและสนับสนุนกลุ่มงาน และงานกำกับดูแลเครื่องสำอางก่อนออกสู้ท้องตลาด ใน ส่วนของกระบวนการการให้บริการยื่นคำขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สามารถลดขั้นตอนการทำงาน ลดค่าใช้จ่าย และลดวงรอบเวลาของกระบวนการได้ การสำรวจความเห็นของผู้ใช้บริการ (ผู้ประกอบการ) พบว่าส่วนใหญ่ค่อนข้าง สนใจที่จะใช้บริการยื่นคำขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพราะเห็นว่ามีความสะดวกรวดเร็วกว่า การศึกษาเปรียบเทียบ กระบวนการให้บริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของกรมสรรพากร และกรมศุลกากร พบว่ามีลักษณะงานและระบบงานที่ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กับการให้บริการ ยื่นคำ ขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของกองควบคุมเครื่องสำอาง สำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ผู้วิจัยได้เสนอรูปแบบการดำเนินงานและการจัดองค์การเพื่อรองรับการให้บริการยื่นคำขอ อนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3 รปู แบบ โดยแต่ละรูปแบบมีผลกระทบต่อองค์การต่างกัน ผู้วิจัยเห็นว่ารูปแบบที่เหมาะสม ที่สุดคือ รูปแบบที่มีการผสมผสานสื่ออิเล็กทรอนิกส์กับระบบ Manual ก่อนในขั้นแรก แล้วจึงขยายผลสู่การให้บริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เต็มรูปแบบต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.339en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา -- การบริการth_TH
dc.subjectการจัดองค์การth_TH
dc.titleรูปแบบการดำเนินงานและการจัดองค์การเพื่อรองรับการให้บริการยื่นคำขออนุญาตผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ : กรณีศึกษาการยื่นคำขออนุญาตผลิตหรือนำเข้าผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาth_TH
dc.title.alternativeWork Pattern to enhance application service via electronic media : a case stady of application service for cosmetic production or import provided by food and drug administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis objectives of this study were (1) to find out how to prepare for the reengineering of die organization to enhance application services via electronic media particularly the application services for cosmetic production or imported products provided by Food and Drug Administration (2) to compare die existing application processes to the proposed processes based on enhancing the application services via electronic media (3) to find out how to prepare the appropriate organization to enhance application services via electronic media and (4) to prepare the officers as well as of the applicants for using application services via electronic media The researcher has analyzed the organizational structure the current process application as well as die processes of the Revenue Department and the customs Department that offer services through electronic media. In addition, the researcher has studied related information technology, together with law and regulations involved , to be able to assign or reengineer the working pattern. The result of the study indicates that the existing organization structure responds properly to the proposed process: all functions and responsibihes remain the same. However. decreased vvork load of General Administrative Team is obvious. In aspect of service process, service rendering through electronics media helps eliminate process steps. cost. and cycle time. Moreover the survey exercised on service users reveals that most users are interested in proposed application processes since it would be much fester. The result of the benchmarking with die Revenue Department and the Customs Department indicates that some process characteristics and electronic systems can be applied to the proposed process. The researcher has proposed three forms of the organizational arrangements for die application through electromc media. Each form gives a difference result affecting the organization. The most appropriate form is the one that has the combmation of manual and electronic media at the early stage and expand to the full application services through electronic media later on when all supporting factors are in placesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
78972.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons