Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7668
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจth_TH
dc.contributor.authorกมลวรรณ ช้างเล็ก, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T06:39:41Z-
dc.date.available2023-07-13T06:39:41Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7668en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการบริโภคอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่น ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่น ในเขตกรุงเทพมหานครและ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่น ในเขตกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้บริโภคอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่น ในเขตกรุงเทพมหานคร เนื่องจากไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึงกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร การคพนวณของทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าไคสแควร์และสัมประสิทธิ์ สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 26-35 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ย 20,001 – 30,000 บาทต่อเดือน (1) พบว่า ผู้บริโภครับประทานอาหารญี่ปุ่น 1 ครั้งต่อเดือน นิยมรับประทานในช่วงวันเสาร์ – อาทิตย์ เวลา 13.01 -16.00 น. โดยส่วนใหญ่บริโภคร่วมกับเพื่อน (2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่นด้านค่าใช้จ่าย ไม่มีความสัมพันธ์กับความถี่ในการบริโภค ส่วนปัจจัยด้านสถานภาพ อาชีพ มีความสัมพันธ์กับความถี่ในการบริโภคและค่าใช้จ่ายในการบริโภค และ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่น ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมผู้บริโภคด้านความถี่ในการบริโภค ยกเว้นด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านบุคลากร ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทยth_TH
dc.subjectอาหารญี่ปุ่น--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่น ในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMarketing mixs ralated with consumer behavior of Japanese buffet in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study: (1) consumer behavior of Japanese buffet in Bangkok; (2) the relationship between demographic factors and consumer behavior of Japanese buffet in Bangkok; and (3) the relationship between marketing mixs and consumer behavior of Japanese buffet in Bangkok. This research was an exploratory study. The population was Japanese buffet consumers in Bangkok with unknown number and sample size was calculated by Taro Yamane formula at 95% confidence interval to be 400. The data was collected with multistage design by questionnaire as an instrument. The statistical analysis was descriptive statistics with percentage, mean and standard deviation and inferential analysis was including chi square and spearman rank correlation. The findings revealed that: demographic factors of consumers mostly were female, age 26-35 years old, single, employees in private company, average monthly income 20,001 – 30,000 baht; (1) consumer behavior consisted of average eating frequency of 1 time every month, mostly weekend at 13.01-16.00 and eating together with friends; (2) demographic factors; sex, education and income were correlated with consumer behavior in term of expense but not correlated with frequency. Whereas marital status and career were correlated with both expense and frequency; and (3) marketing mixs in term of product, place and promotion factors were correlated with consumer behavior with consumption frequency whereas price, process, people and physical evidence were not.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
full_text 150225.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons