Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคมth_TH
dc.contributor.authorสุระไกร เหลาคำ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T07:32:27Z-
dc.date.available2023-07-13T07:32:27Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7682en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ผลสัมฤทธิ์ของโครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบักได (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการประเมินผลโครงการกับผลสัมฤทธิ์ของโครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุตำบลบักได และ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของโครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ในอนาคต ประชากรที่ศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ (1) บุคลากรผู้ปฏิบัติงานตามโครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์จำนวน 99 โดยใช้ศึกษาจากประชากรทั้งหมด (2) ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปที่ได้รับเบี้ยยังชีพและเป็นผู้ที่อาศัยในพื้นที่ตำบลบักได จำนวน 1,000 คน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ 286 คน จากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหาเท่ากับ 0.95 และค่าความเชื่อมันได้เท่ากับ 0.94 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ของโครงการทั้งของผู้สูงอายุและผู้ปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านประสิทธิภาพของโครงการ อยู่ในระดับมากรองลงมาคือ คุณภาพในการให้บริการ และประสิทธิผลของโครงการตามลำดับ (2) ปัจจัยด้านการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ และปัจจัยด้านการประเมินผลโครงการกับผลสัมฤทธิ์ของโครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุ ตำบลบักได มีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูง และ (3) ปัญหาของโครงการคือ การมีหลักเกณฑ์ ขั้นตอน กฎระเบียบในการดำเนินงานที่ยุ่งยาก และการประชาสัมพันธ์การจ่ายเบี้ยยังชีพยังไม่ทั่วถึง ทุกครัวเรือน ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของโครงการ คือ ควรมีการจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุให้ครอบคลุมมากกว่าเดิม และเพิ่มกระบวนการทำงานให้มีความชัดเจนและมีสิ่งอำนวยประโยชน์ให้ผู้สูงอายุth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแล--ไทย--สุรินทร์th_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การสงเคราะห์--ไทย--สุรินทร์th_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--นโยบายของรัฐth_TH
dc.titleการประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeEvaluation of the achievement of financial aid welfare for elderly project of Bakdai subdistrict Administrative Organization, Phanomdongrak district of Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: (1) level of achievement of Financial Aid Welfare for Elderly Project of Bakdai Subdistrict Administrative Organization; (2) relationship between result based management factor and project evaluation factor of Financial Aid Welfare for Elderly Project of Bakdai Subdistrict Administrative Organization; and (3) problems and give recommendation for future implementation of Financial Aid Welfare for Elderly Project of Bakdai Subdistrict Administrative Organization, Phanomdongrak District of Surin Province. Population was divided into 2groups:1) all 99operational officials of Bakdai Subdistrict Administrative Organization 2) 1000 elderly who were over 60 years old and living in Bakdai Subdistrict. Samples were 99 officials and 286 elderly people calculated from Taro Yamane formula. Sampling method used simple sampling. Research instrument was a questionnaire with validity at 0.95 and reliability value at 0.94. Statistical analysis employed descriptive statistic namely percentage, mean, standard deviation and inferential statistic employed Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The results showed that: (1) an overview image of achievement level of Financial Aid Welfare for Elderly Project of Bakdai Subdistrict Administrative Organization was at high level. Considering each aspect, it was found that efficiency of the said project was at high, followed by service quality and effectiveness aspects respectively; (2 ) the relationship between result based management factors and project evaluation factors of Financial Aid Welfare for Elderly Project of Bakdai Subdistrict Administrative Organization had positive relationship at high level; and (3) major problem found was the complicatedness of criteria, process and regulation, public relations of financial aid welfare for elderly was not evenly.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150228.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons