Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัลลภ กัณหะเสน, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T08:55:41Z-
dc.date.available2023-07-13T08:55:41Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7703-
dc.description.abstractจากวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศไทย นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2540 ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างได้รับ ผลกระทบโดยตรงและรุนแรง ผู้รับเหมาก่อสร้างจำนวนมากจาต้องปิดกิจการหรือลดขนาดลง ปัญหาที่ผู้รับเหมา เผชิญคือ ทำอย่างไรจึงจะหางานในตลาดมาป้อนให้กิจการอยู่รอดได้ และมีกลยุทธ์ทางการตลาดใดที่จะนำมาใช้ ในภาวะที่กำลังประสบปัญหาผู้วิจัยจึงได้วิจัยกลยุทธ์ทางการตลาดของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในภาวะที่เศรษฐกิจ ถดถอยเช่นนี้ การวิจัยครั้งนี้มีวุตถุประสงค์ 3 ประการคือ (1) เพี่อศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดของผู้รับเหมา ต่อสร้างขนาดเล็ก (2) เพี่อศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดของผู้รับเหมาก่อสร้างขนาดกลาง (3) เพื่อเปรียบเทียบ กลยุทธ์ทางการตลาดระหว่างผู้รับเหมาขนาดเล็กและขนาดกลาง ในภาวะเศรษฐกิจถดถอย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ศึกษา ได้แก่ ผู้รับเหมางานก่อสร้างอาคารที่ จดทะเบียนกับกองแผนงาน สำนักโยธา กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นผู้รับเหมาขนาดเล็ก 64 ราย และ ผู้รับเหมาขนาดกลาง 30 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับการใช้กลยุทธ์ และระดับความสำเร็จที่ได้รับ โดยใช้ค่าสถิติทดสอบที (I-ICS1) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของกลยุทธ์ทางการตลาด ระหว่างผู้รับเหมาขนาดเล็กและขนาดกลาง ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์ทางการตลาดที่ผู้รับเหมาขนาดเล็กและขนาดกลางใช้มากที่สุดและได้รับ ผลสำเร็จสุงสุดในแต่ละด้านซึ่งสอดคล้องกับทฤษฏีความได้เปรียบทางการแข่งข้น คือ การรับประกันคุณภาพงาน (กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์), การเสนอราคาที่คุ่มค่ากับผลงานที่จะได้รับ (กลยุทธ์ราคา), การหมั่นติดตามเอาใจใส่ลูกค้า เพื่อให้ประทับใจและได้รับเลือกให้เข้าประมูลงาน (กลยุทธ์ทางการจัดจำหน่าย) และการรักษาระดับคุณภาพ งานและบริการหลังจากงานเสร็จแล้วเพื่อให้ลูกค้าบอกเล่าถึงองค์การปากต่อปาก (กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด) จากการทดสอบความแตกต่างของกลยุทธ์ทางการตลาด ปรากฎว่าระดับการใช้และความสำเร็จที่ได้รับของ ผู้รับเหมาขนาดเล็กและขนาดกลางไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคญ 0.05 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย คือ ผู้รับเหมาควรใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่สอดคล้องกับทฤษฏีความ ได้เปรียบทางการแข่งขันเพี่อความสำเร็จและความอยู่รอดในระยะยาวขององค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.68en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง -- ภาวะเศรษฐกิจth_TH
dc.subjectธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง -- การตลาดth_TH
dc.titleกลยุทธ์ทางการตลาดของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในภาวะเศรษฐกิจถดถอยth_TH
dc.title.alternativeMarketing strategies of the construction business in the Bangkok Metropolitan Region in the recession economyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research arc triple: (1) to study the marketing strategies of small- sized contractors, (2) to study the marketing strategies of medium-sized contractors, and (3) to compare the marketing strategies between small- and medium-sized contractors in the recession economy. This is a historical survey research. The population is the building-construction contractors that register to bid the project of the Planning Division of the Public Works Department Bangkok Metropolitan Administration. The sample data consist of 64 small-sized contractors and 30 medium-sized contractors. The studying methodology is the self-administered questionnaire. The statistic tests are the arithmetic mean (X) and the standard deviation (S.D.) to determine the practical level and the successful level of the marketing strategies. Then, the statistic t-test is employed to compare the distinction of the marketing strategies between small- and medium-sized contractors. Major findings in this research indicate that the most practical and successful marketing strategies of small- and medium-sized contractors in each channel of the 4P marketing strategies conform to the competitive advantage theory as follows: (1) guarantee the quality of work (Product Strategy); (2) quote the optimum and reasonable price as compared to the quality of work (Price Strategy); (3) take care of existing customers for good impression to enhance the opportunity to be repeatedly selected as a bidder in the future (Place Strategy); and (4) control the quality of work and after-sale service for good renown (Promotion Strategy). The marketing strategies of the small- and medium-sized contractors are not statistically different at the significance level of .05 . In other words, the empirical findings in this research recommend that contractors apply the marketing strategies in accordance with the competitive advantage theory for the survival and success of business in the long runen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79044.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons