Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7726
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เฉลิมพงศ์ มีสมนัย | th_TH |
dc.contributor.author | สุนีย์ พลายแก้ว, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-14T03:26:07Z | - |
dc.date.available | 2023-07-14T03:26:07Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7726 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2) การดำเนินการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับการดำเนินการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ (4) ปัญหาและแนวทางการเสริมสร้างการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ศึกษา ได้แก่ ข้าราชการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 269 คน ตามสูตรคำนวณของเครจซี่ มอร์แกน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ และกำหนดระดับความคลาดเคลื่อนที่ 0.05 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามกรอบแนวคิดการศึกษา สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับการดำเนินการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับการดำเนินการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อกันในระดับสูงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และ (4) ปัญหาที่พบคือ ขาดขวัญและกำลังใจในการทำงาน ค่าตอบแทนน้อย ส่วนข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรส่งเสริมขวัญและกำลังใจในการทำงาน (ด้านค่าตอบแทน สวัสดิการ) เพื่อให้บุคลากรเกิดความสุขในการทำงาน และเต็มใจทำงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | การธำรงรักษาพนักงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่สัมพันธ์กับการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | th_TH |
dc.title.alternative | Human resource management factors relating the human resource retention of the Office of the Permanent Secretary of Public Health | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were; (1) to study the opinion level on the factors in human resource management of the Office of the Permanent Secretary of Public Health; (2) to study the opinion level on the implementation of human resource retention of the Office of the Permanent Secretary of Public Health; (3) to investigate relationship between factors in human resource management and human resource retention of the Office of the Permanent Secretary of Public Health. and (4) to explore problems and solutions for enhancing human resource retention of the Office of the Permanent Secretary of Public Health. This study was a servey research. The study population was civil servants work for the Office of the Permanent Secretary of Public Health. A sample of 269 people was studied according to Krejcie and Morgan computational formula and degree of error was determined by 0.05. The samples were then randomized by using stratified sampling to obtain the group examples according to the proportion of units. The instruments used for data collection were: The questionnaire was created according to the educational conceptual framework. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The results of the study found that (1) the overall factors in human resource management was at a high level. (2) the overall level of human resource retention was at a high level. (3) the relationship between factors in human resource management and human resource retention was found to have a very high positive correlation statistically significant at 0.05 and (4) the problems were found that employee lack of support and motivation at work and low compensation. The recommendations from this study suggest that the organization should apply motivation and encouragement in workplace including worker compensation and fringe benefits to increase employee happiness and enthusiasm at work. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License