กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7753
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมยศ กิตติกูลไพศาล, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-14T04:40:24Z | - |
dc.date.available | 2023-07-14T04:40:24Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7753 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการท ี่ใช้ในการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (2) เปรียบเทียบระดับการตัดสินใจในปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ใช้ในการเลือกโรงเรียนกวดวิชาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมืองสงขลา จังหวดสงขลา จําแนกตามลักษณะส่วนบุคคล ประชากรที่ใชในการศึกษาคือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมือง สงขลาจังหวดสงขลา จํานวน 5,194 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบจากตารางตามทัศนะของเคร็จชี และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 361 คน ใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยมีค่า ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.951 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่าางให้ความสําคัญกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด การบริการในภาพรวมอยในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ปัจจัยดัานบุคลากรมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ทางกายภาพมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด และทุกปัจจัยมีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก (2) นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเพศ ระดับช้ันที่กําลังศึกษา แผนการเรียน ระดับผลการเรียน โรงเรียนที่กำลังศึกษาอาชีพของผู้ปกครอง และรายได้ต่อเดือนของผู้ปกครองแตกต่างกัน ตัดสินใจใช้ ส่วนประสมทางการบริการของโรงเรียนกวดวิชาแตกต่างกันอย่่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเขตที่พักอาศยแตกต่างกัน ตัดสินใจใช้ส่วนประสมทางการบริการของโรงเรียนกวดวิชาไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงเรียนกวดวิชา--การตลาด | th_TH |
dc.subject | การตัดสินใจ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกโรงเรียนกวดวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา | th_TH |
dc.title.alternative | Services marketing mix factors affecting decision to choose tutorial secondary school in Mueang Songkhla District, Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was (1) studying for the services marketing mix factors affecting in marketing decision to choose tutorial secondary school in Mueang Songkhla District, Songkhla Province and (2) comparing level of decision based on personalization of students in secondary school at Mueang Songkhla District, Songkhla Province. The population of study were 5,194 students in secondary school at Mueang Songkhla District, Songkhla. The 361 sample size were 361 students determined by using the Krejcie and Morgan table. The questionnaire: were used in data collection process within in this study with reliability values are 0.951. The statistics that used analysis information in this research are percentage (%), mean ( x ), standard deviation (SD), t-test, F-test, Analysis of Variance (one-way ANOVA) The results of this research were: (1) the samples considered services marketing mix factors highly in retested considering by each factors appear of that people factor was in the highest level of average rate. The physical evidence factor was the lowest level of average rate and all factors were high level of significant. The secondary school that differ in sex, level in class, studying program, the school, the occupation of parent and receipts of parents: decide to use the services marketing mix factors in tutorial secondary school. There was a significant difference at 0.05 level. And the secondary school students that stay in difference area: decide to use the same services marketing mix factors in tutorial secondary school. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
130061.pdf | 13.69 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License