Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธิติพัฒน์ เอี่ยมนิรันดร์ , อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปราการ กองแก้ว, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T06:33:22Z-
dc.date.available2023-07-14T06:33:22Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7759-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของผู้บริโภคที่ ซื้อสุขภัณฑ์ของผู้ผลิตรายใหญ่ (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการซื้อสุขภัณฑ์ ของผู้บริโภคที่มี ต่อสุขภัณฑ์ของผู้ผลิตรายใหญ่ และ (3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มี ต่อสุขภัณฑ์ของผู้ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของผู้ผลิตสุขภัณฑ์รายใหญ่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านตัวแทนจำหน่ายสุขภัณฑ์ประเภท ร้านขายวัสดุตกแต่งบ้านและประเภทโมเดิรน์เทรดในเขตกรุงเทพมหานคร รวม 400 คน เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.93 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างใช้ไคสแควร์ การวิเคราะห์ ความแปรปรวน และการทดสอบด้วยวิธีการแอล เอส ดี โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้บริโภคที่เลือกซื้อสุขภัณฑ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 21 – 30 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 20,000 บาท ผู้บริโภคสนใจเลือกซื้อสุขภัณฑ์คอตโต้มากที่สุด รองลงมา คือ อเมริกันสแตนดาร์ด และ กะรัต โดยผู้บริโภคมีความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดของผู้ผลิตรายใหญ่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ในระดับมาก (2) ผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ แตกต่างกันมีพฤติกรรมการเลือกซื้อด้านยี่ห้อสุขภัณฑ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ผู้บริโภคที่มีเพศแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดของผู้ผลิตรายใหญ่ ด้านผลิตภัณฑ์ไม่แตกต่างกัน ผู้บริโภคที่มีอายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ด้านการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาดสุขภัณฑ์รายใหญ่แตกต่างกัน ผู้บริโภคที่มี มีระดับการศึกษาอาชีพแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ด้านผลิตภัณฑ์และด้านการจัดจำหน่ายสุขภัณฑ์ ของผู้ผลิตรายใหญ่แตกต่างกัน และผู้บริโภคที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ด้านผลิตภัณฑ์ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.341en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเครื่องสุขภัณฑ์ -- การตลาดth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของผู้ผลิตสุขภัณฑ์รายใหญ่ กรณีศึกษาเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of consumer's satisfaction with marketing mix of major sanitary ware manufacturers : a case study in the Bangkok metropolitan areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study some particular demographic characteristics of consumers who bought products from the major sanitary ware manufacturers; (2) to compare their particular behaviors in buying the products; (3) to compare their satisfactions on sanitary ware marketing mix factors. The questionnaire survey was conducted in Bangkok Metropolitan area on 400 samples of some home decorations’ and modern trade dealers’ customers. The questionnaire with statistical reliability of 0.93 was applied to the survey. Data were statistically analyzed on SPSS for Windows through Mean (X), Standard Deviation (S.D.), Chi-Square Test, Analysis of Variance and LSD test. The survey result showed that (1) major portion of consumers who prefer to buy products from the major sanitary ware manufacturers, was the group of males working for private-run company with ages ranged from 21 to 30 years, Bachelor's degree graduate and monthly income bracket between 10,001 and 20,000 baht. Most of customers preferred to buy products of Cotto, American Standard and Karat respectively, they were highly satisfied with sanitary ware marketing mix in terms of products, price and marketing distributions; (2) Consumers with different genders, ages, educational levels and occupations had their significantly different behaviors in choosing their brand preferences at the statistical significance level of 0.05; (3) For consumers with different genders, no significantly different satisfaction in sanitary ware marketing mix was observed. Consumers with different ages and income brackets had their significantly different satisfaction in marketing distributions and promotions, consumers with different educational levels and occupations had their significantly different satisfaction in marketing distributions and consumers with different income brackets had their significantly different satisfaction in products at the statistical significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79839.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons