Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกวิน วิวัฒนพงศ์พันธ์th_TH
dc.contributor.authorทองเผื่อ เหล็งหวาน, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T11:49:44Z-
dc.date.available2022-08-18T11:49:44Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/775-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคลการรับรู้ความสามารถในการทำงานของตนเองและการรับรู้ต่อระบบบริหาร และลักษณะงานและความเกี่ยวข้องผูกพันกับงาน (2) ประเมินคุณภาพชีวิตการทำงาน (3) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลจังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรที่ศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลจังหวัดสุพรรณบุรี โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมดจำนวน 454 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีคำนวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามดังนี้ ความคิดเห็นด้านการทำงาน 0.8690 การรับรู้ 0.9066 และคุณภาพชีวิตการทำงาน 0.8674 ผู้วิจัยนำส่งและเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มประชากรโดยตรง วิเคราะห์และประเมินผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแคว์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มประชากรที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 30-39 ปี ร้อยละ 73.6 มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส ดำรงตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขประสบการณ์ทำงานที่สถานีอนามัย 1-9 ปี เงินเดือนและค่าตอบแทนต่ำกว่า 15,000 บาทต่อเดือน และ 25,001 - 30,000 บาทต่อเดือน ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 24.4 และ 24.3 (2) คุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง คือ ด้านการรับรู้ ความสามารถในการทำงานและการรับรู้ต่อระบบบริหารลักษณะงานและความเกี่ยวข้องผูกพันกับงาน อยู่ในระดับสูง และ (3) ปัจจัยทางด้าน เพศ ตำแหน่ง การรับรู้ ความสามารถในการทำงานของตนเองและการรับรู้ต่อระบบบริหาร ลักษณะงานและความเกี่ยวข้องผูกพันกับงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 จากงานวิจัยบ่งบอกว่าการประเมินคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล จังหวัดสุพรรณบุรี โดยรวมอยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleการประเมินคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation on work life quality among health personnel at Sub-District Level in Suphan Buri provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were (1) to assess Individual Attributes. perceptions on self-efficacy and administrative system, and job characteristics and job involvement; (2) to evaluate work life quality; and (3) to investigate factors related to work life quality among health personnel at Sub-District in Suphan Buri province. The study population was 454 personnel working at health centers at Sub-District. Data were collected by using a questionnaire. The questionnaire reliability test using Cronbach's alpha coefficients for each category were as follows: 0.869 for job characteristics, 0.9066 for perception, and 0.8674 for work life quality. Statistical analyses including frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, and Pearson's correlation coefficients were used. The result of this study showed that (1) most respondents were female, aged 30-39 years. They were married, and were in public health officer position. They had 1-9 years of work experience. They are slightly close regarding percentage of respondents' monthly incomes (i.c., 24.4% had lower 15,000 baht while 24.3% had 25,001-30,000 baht per month respectively). (2) their overall work life quality was at a high level, including perception, self-efficacy and administrative system, as well as job characteristics and olvement; and (3) sex, job position, perceptic on self-efficacy and administrative level. job characteristics and job involvement statistically significantly related to work life quality at .05 level. The research findings indicated that work life quality among health personnel at Sub-District in Suphan Buri province was at a high levelen_US
dc.contributor.coadvisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกาth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118471.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons