Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภูมินันทน์ พลเศพย์, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T06:41:33Z-
dc.date.available2023-07-14T06:41:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7762-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ (2) เสนอสมรรถนะที่เหมาะสมขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ (3) เสนอแนวทางการพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับสมรรถนะขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ ประชากรที่ใช้ศึกษาจากประชากรทั้งหมดของพนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ ทั้ง 6 แห่ง จำนวน 163 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ ส่วนใหญ่มีความต้องการได้รับการพัฒนาในทุกด้าน โดยมีความเห็นว่า การปฐมนิเทศ การศึกษา การฝึกอบรม การสอนงาน การศึกษาดูงาน และการศึกษาด้วยตนเอง มีความจำเป็นต่อหน่วยงานในระดับมากที่สุด ส่วนการสัมมนาและการเป็นพี่เลี้ยง มีความจำเป็นต่อหน่วยงานในระดับมาก (2) สมรรถนะ หลักที่เหมาะสมขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ คือ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน การบริการเป็นเลิศ และการทำงานเป็นทีม (3) แนวทางในการพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับสมรรถนะขององค์การบริหารส่วน ตำบลที่สำคัญคือ ควรมีการส่งเสริมการศึกษาต่อและให้ทุนการศึกษาแก่บุคลากรทุกประเภท ควรจัดให้ พนักงานทุกคนได้รับการฝึกอบรมในหลักสูตรที่สอดคล้องและจำเป็นกับลักษณะงานในตำแหน่งที่ปฏิบัติอยู่ควรมีการอบรมด้านการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ควรจัดให้มีการสอนงานโดยหัวหน้างาน ควรให้ผู้ที่มีวิสัยทัศน์ที่ดี มีทักษะความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ทำหน้าที่พี่เลี้ยง ควรจัดให้มี การศึกษาดูงานในหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จหรือมีผลงานดีเด่น และควรมีกิจกรรมการเสริมสร้าง ความสามัคคีในหมู่คณะและการทำงานเป็นทีมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาบุคลากร.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativePersonnel development of Sub-district administrative organizations in Sanom District, Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) study the requirement of Personnel Development of Sub-district Administrative Organizations in Sanom District, Surin Province, 2) propose the appropriate competency for Sub-district Administrative Organizations in Sanom District, Surin Province, and 3) suggest guidelines for Personnel Development to be consistent with competency for Sub-district Administrative Organizations in Sanom District, Surin Province. The sample was consisted of staff, both full time and part time of six Sub-district Administrative Organizations in Sanom District, Surin Province, total of 163. Questionnaire and interview form were used as the research instrument. Collected data were analyzed with frequency, percentage and standard deviation. Findings indicated that, firstly, most of staff in Sub-district Administrative Organizations in Sanom District, Surin Province would like to have the development in all aspects. They agreed that orientation, education, training, workshop, business trip and self-study were very necessary for the organization in the high level. Secondly, the appropriate key competency for Subdistrict Administrative Organizations in Sanom District, Surin Province was the result-based, justice and ethics, understanding in organization and work system, excellent service and teamwork. Lastly, regarding the guidelines for human resources development to be consistent with competency of Sub-district Administrative Organization, Organization should promote further education and scholarship offering to staff, provide the training in the necessary and relevant topics to job description of all staff including promote ethics and morality as well as organize a meeting or seminar between government agency. Furthermore, on the job training by supervisor and the knowledge transfer by the skillful staff who had good vision were required. Moreover, organization should have sufficient study trips to visit other successful organizations. Additionally, the awareness of service mind and activities to promote teamwork and harmony should be reinforceden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151389.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons