Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณภรณ์ โคษา, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T06:47:51Z-
dc.date.available2023-07-14T06:47:51Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7764-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดศรีสะเกษ และ (2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านความรู้ ปัจจัยนำเข้า และปัจจัยด้านการให้ความช่วยเหลือจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่มีต่อประสิทธิผลของการนำระบบบัญชีคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดศรีสะเกษ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ องค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 191 แห่ง กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 127 แห่ง โดยใช้ตารางเครจซีและมอร์แกน เลือกตัวอย่างด้วยวิธีจับฉลาก ผู้ตอบแบบสอบถามคือผู้อำนายการกองคลังขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดศรีสะเกษ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิผลโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับคือ ความทันเวลาต่อการตัดสินใจ การพัฒนาการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามระเบียบ และความคุ้มค่าตามนโยบายรัฐบาล และ (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 44.28 ปี เข้ารับการอบรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์เฉลี่ย 6.91 ครั้ง ใช้งานระบบบัญชีคอมพิวเตอร์เฉลี่ย 7.59 ปี ปัจจัยด้านความรู้ ส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ในระดับมาก ปัจจัยนาเข้าและปัจจัยด้านการให้ความช่วยเหลือจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งปัจจัยทั้งหมดมีความสัมพันธ์กับระดับประสิทธิผลในระดับปานกลาง และสามารถร่วมกันอธิบายการเปลี่ยนแปลงของระดับประสิทธิผลได้ร้อยละ 32.3 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการนำระบบบัญชีคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดศรีสะเกษอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มี 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยนำเข้าและปัจจัยด้านการช่วยเหลือจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีค่าเบต้าเท่ากับ 0.289 และ 0.266 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.subjectการบัญชี--โปรแกรมคอมพิวเตอร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการนำระบบบัญชีคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the effectiveness of computerized accounting system implementation in Sub-district Administrative Organization, Sisaket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of operational effectiveness in the computerized accounting system of the Sub-district Administrative Organization in Sisaket Province, and (2) to study personal factors, knowledge factors, input factors, and support factors from the Department of Local Administration on the effectiveness of the computerized accounting system in Sub-district Administrative Organizations in Sisaket Province. The population of this quantitative study was 191 Sub-district Administrative Organizations in Sisaket Province. The 127 sample was determined by using Krejcie and Mogan’s table. The respondents were the Treasury Directors of the Subdistrict Administrative Organization in Sisaket Province. A questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, maximum, minimum, and multiple regression analysis. The results showed that (1) the overall effectiveness level was at a high level, ranking in order as timeliness in decision, operational development, orderliness, and value according to government policy, and (2) as for personnel factor, most of the respondents were female, with the average age of 44.28 years old, used to attended computerized accounting training courses for 6.91 times, and the average of using the computerized accounting system for 7.59 years. On knowledge factor, most of the respondents had knowledge of computerized accounting system at a high level, and input factors and support from the Department of Local Administration factor were at a moderate level. All factors were related to the operational effectiveness at 32.3 percent. The factors of input and support from the Department of Local Administration Organization in Sisaket Province influenced the computerized accounting systems, with a statistical significance at 0.05 level, and Beta values at 0.289 and 0.266, respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons