Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสพล ไกรฤกษ์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T06:58:41Z-
dc.date.available2023-07-14T06:58:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7768-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการทำงานของกำลังพลกองการศึกษาโรงเรียนทหาร ปืนใหญ่ (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการทำงานของกาลังพลกองการศึกษาโรงเรียนทหารปืนใหญ่ จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือกำลังพลกองการศึกษาโรงเรียนทหารปืนใหญ่ ศูนย์การทหารปืน จังหวัดลพบุรี จำนวน 1,082 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 292 คน โดย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบวา่ (1) แรงจูงใจในการทำงานของกำลังพลของกองการศึกษาโรงเรียนทหารปืนใหญ่ศูนย์การทหารปืน จังหวัดลพบุรีในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน แรงจูงในในการทำงานที่อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านลักษณะงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านความกาวหน้าในตำแหน่ง ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านนโยบายการบริหาร ด้านสถานภาพของวิชาชีพ ด้านความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ระดับแรงจูงใจที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านเงินเดือน ด้านการปกครองบังคับบัญชา ด้านสภาพปฏิบัติงาน ด้านชีวิตความเป็นอยู่ส่วนตัว (2) กาลังพลของกองการศึกษาโรงเรียนทหารปืนใหญ่ศูนย์การทหารปืนใหญ่จังหวัดลพบุรี ที่มีอายุ และระดับการศึกษา แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ส่วน กำลังพลของกองการศึกษาโรงเรียนทหารปืนใหญ่ศูนย์การทหารปืนใหญ่จังหวัดลพบุรีที่มีเพศ สถานภาพ ตำแหน่ง รายได้และประสบการณ์ในการทำงาน แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงเรียนทหารปืนใหญ่ ศูนย์การทหารปืนใหญ่ จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการทำงานของกำลังพลกองการศึกษาโรงเรียนทหารปืนใหญ่ ศูนย์การทหารปืนใหญ่ จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeWork motivation of military personnel of the education Division of Artillery School at Artillery Center, Lop Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the levels of work motivation of military personnel of the Education Division of Artillery School; and (2) to compare work motivation of military personnel of the Education Division of Artillery School classified by personal characteristics. Population was 1,082 military personnel of the Education Division of Artillery School at Artillery Center, Lop Buri province. The sample was 292 military personnel using quota sample method and Yamane’s formula. Questionnaires with reliability value of 0.98 were used for data collection. The data was analyzed by using percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA, and LSD test. The results showed that (1) overall military personnel of the Education Division of Artillery School at Artillery Center, Lop Buri province had work motivation at moderate level. Military personnel considered the achievement, work performance, responsibility, progress, staff relationship, policy and administration, professional status and work security at high level. However, the recognition, salary, the command, work conditions, and personal life were considered at moderate level; and (2) military personnel of the Education Division of Artillery School at Artillery Center, Lop Buri province with different age and educational level had different work motivation of statistically significant at the 0.05 level. While military personnel of the Education Division of Artillery School at Artillery Center, Lop Buri province who had different gender, marital status, work position, income, and working experience had no difference in work motivationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
133782.pdf14.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons