Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7769
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธาสินี พลเศพย์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T07:01:22Z-
dc.date.available2023-07-14T07:01:22Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7769-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลตำบลสนม (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลตำบลสนม (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลตำบลสนม และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลตำบลสนม ประชากรคือ ประชาชนที่อายุมากกว่า 18 ปี บริบูรณ์ อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลสนม อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 5,075 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 371 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำ แผนพัฒนาเทศบาลตำบลสนม ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาในองค์ประกอบแต่ละด้านโดย เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยพบว่า ด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล และด้านการมีส่วนร่วมดำเนินการ (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาของเทศบาลตำบลสนม ได้แก่ การให้ คุณค่าทางสังคมต่อสมาชิกสภาเทศบาล การได้รับการสนับสนุนและการยอมรับ ความตระหนักของตัว สมาชิกสภาเทศบาลต่อการดำเนินการพัฒนาท้องถิ่น ด้านคุณลักษณะด้านคุณธรรมของนายกเทศมนตรี คุณสมบัติด้านความสามารถของนายกเทศมนตรี ความเข้มแข็งของชุมชน และความใส่ใจในกิจกรรมของชุมชน (3) ปัจจัยด้านคุณลักษณะด้านคุณธรรมของนายกเทศมนตรี คุณสมบัติด้านความสามารถของนายกเทศมนตรี การให้คุณค่าทางสังคมต่อสมาชิกสภาเทศบาล ความตระหนักของตัวสมาชิกสภาเทศบาลต่อ การดำเนินการพัฒนาท้องถิ่น ความใส่ใจในกิจกรรมของชุมชน ความเข้มแข็งของชุมชน และการได้รับการ สนับสนุนและการยอมรับ มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา เทศบาลตำบลสนม และ (4) ข้อเสนอแนะจากการศึกษาพบว่า ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลตำบลสนมในทุกกระบวนการให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectแผนพัฒนาเทศบาลตำบลสนม อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.subjectเทศบาลตำบล--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาล ตำบลสนม อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativePeople's participation in Sub-district development planning of sanom Municipal Sub-district, Sanom District, Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study: (1) the opinion about the level of people’s participation in Sub-District Development Planning of Sanom Municipal Sub-District; (2) factors related to people’s participation in Sub-District Development Planning; (3) relationship between factors and people’s participation in Sub-District Development Planning; and (4) problems and suggestion for people’s participation in Sub-District Development Planning. The sample was 371 people who were over 18 selected from the population total of 5,075 by accidental sampling method. Questionnaire was used for data collection. Statistics used for data analysis involved with frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation coefficient. The results of the study showed that: (1) level of people’s participation was in the medium level, considering the components in all aspects which were, arranged in descending order, the mutual interest, participating in decision, participating in monitoring, examination and evaluation and participating in the operation; (2) factors related to people’s participation in Sub-District Development Planning were social value of the municipal members, support and acceptance, awareness of the municipal members to the development, moral qualification of the mayor, community’s strength and attention of community activities; (3) moral qualification of the mayor, ability qualification of the mayor, social value of the municipal members, awareness of the municipal members to the development, community’s strength and support and acceptance negatively related to people’s participation in Sub-District Development Planning; and (4) the suggestions from this study was that Sanom Municipality Sub-District should, in every process, include and encourage people as well as give opportunity to people to participate in Sub-District Development Planning of Sanom Municipality SubDistricen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151514.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons