Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวุฒิพงศ์ บัวช้อย, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T01:50:08Z-
dc.date.available2022-08-20T01:50:08Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/776-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายบริหาร เกี่ยวกับการ จัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบล (2) พฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายสภาฯ เกี่ยวกับการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบล (3) พฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายปฏิบัติการ เกี่ยวกับการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบล (4) ขั้นตอนของการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบล (5) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายบริหาร ฝ่ายสภาฯ และฝ่ายปฏิบัติการกับขั้นตอนของการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบล ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) พฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายบริหาร เกี่ยวกับการจัดทำ ข้อบัญญัติฯ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ในระหว่างการจัดทำข้อบัญญัติฯ ไต้คำนึงถึงโครงการที่บรรจุในแผนฯ3 ปี ผลการสัมภาษณ์ได้คำนึงถึงความสำคัญกับปัญหาและโครงการที่มีในแผนฯ 3 ปี (2) พฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายสภาฯ เกี่ยวกับการจัดทำข้อบัญญัติฯ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ในระหว่างการจัดทำข้อบัญญัติฯ คำนึงถึงโครงการที่ไต้มาจากประชาคมชาวบ้าน ผลการสัมภาษณ์พบว่าให้ความสำคัญกับปัญหาและความเดือดร้อนของประชาชน (3) พฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดทำข้อบัญญัติฯ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือในระหว่างการจัดทำข้อบัญญัติฯได้ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดทำข้อบัญญัติฯ (4) พฤติกรรมทางการเมืองของทั้ง 3ฝ่ายเกี่ยวกับการจัดหำข้อบัญญัติฯ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือร่างข้อบัญญัติฯได้รับความเห็นชอบจากสภาฯ ตามที่ฝ่ายบริหารเสนอ (5) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเมืองของฝ่ายบริหาร ฝ่ายสภาฯ และฝ่ายปฏิบัติการกับขั้นตอนการจัดทำข้อบัญญัติฯ พบว่า ทั้ง 3 ฝ่ายต่างมีความสัมพันธ์กับขั้นตอนของการจัดทำข้อบัญญัติฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.122-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--เพชรบูรณ์th_TH
dc.subjectการเมืองth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--งบประมาณth_TH
dc.titleพฤติกรรมทางการเมืองในการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeThe political behavior in annual expenditure budget-making regulations of Subdistrict Administrative Organization in Mueang District, Phetchabun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.122-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) the political behavior of executives in Annual Expenditure Budget-making Regulations of Subdistrict Administrative Organization, (2) the political behavior of legislators faction in Annual Expenditure Budget-making Regulations of Subdistrict Administrative Organization (3) the political behavior of officers in Annual Expenditure Budget-making Regulations of Subdistrict Administrative Organization, (4) procedures for drafting Annual Expenditure Budget-making Regulations of Subdistrict Administrative Organization and (5) the relationship between the political behavior of the executives, legislators, and officers factions and procedures for drafting the Regulations. 1'he findings of this research were that (1) the political behavior of executives with the highest rate was the concern about the problem and the projects in the three-year development plan. (2) The political behavior of legislators with the highest rate was the projects from the community. People’s problems and troubles were highlighted. (3) The political behavior of officers faction with the highest rate was compliance with the procedures for drafting Annual Expenditure Budget-making Regulations. (4) The political behavior of the three groups concerning the drafting of the Regulations with the highest rate was that the draft submitted by the executives was approved by the assembly. (5) Every group was statistically correlated with the procedures at a .05 level of significance.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100827.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons