Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorกฤษณะ โคษา, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T07:14:49Z-
dc.date.available2023-07-14T07:14:49Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7775en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการให้บริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ และ 2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการให้บริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ลูกค้าที่มาใช้บริการของธนาคารใน 40 วันทำการของธนาคาร จำนวน 395 คน ด้วยการคำนวณโดยการใช้สูตร ทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที ค่าความแปรปรวนแบบทิศทางเดียว และใช้การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า 1) ลูกค้ามีความพึงพอใจต่อการให้บริการของธนาคารโดยรวม ด้านอาคารสถานที่ ด้านพนักงาน ด้านการให้บริการและด้านข้อมูลข่าวสาร มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด และ 2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกค้าที่มีสถานภาพต่างกันต่อการให้บริการ ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ มีดังนี้ (1) ลูกค้า ที่มีเพศ การศึกษา มีความถี่ในการใช้บริการต่อ 3 เดือน และระยะเวลาการเป็นลูกค้า ที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของธนาคาร ในด้านอาคารสถานที่ ด้านพนักงาน ด้านการให้บริการ และด้านข้อมูลข่าวสาร แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และ (2) ลูกค้าที่มี อายุ อาชีพ และประเภทลูกค้า ที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของธนาคาร ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร--ไทย--ศรีสะเกษ--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการให้บริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeCustomer’s satisfaction toward the service of Bank for Agriculture and Agricultural co-operatives Phu sing Branch Sisaket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims 1) to study customer satisfaction towards the services of Banks for Agriculture and Agricultural Cooperatives, Phu Sing Branch, Si Sa Ket Province, and 2) to compare customer satisfaction towards the service of Banks for Agriculture and Agricultural Cooperatives, Phu Sing Branch, Si Sa Ket Province, classified by personal factors. The population of this quantitative research consisted of customers who comes to use the bank's service in 40 business days. The sample comprised 395 customers, calculating by using Taro Yamane formula with the reliability of 95 percent. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA, and the average comparison of pairs by Scheffe’s method. The results of the study revealed that 1) the customers were satisfied with the overall services of the bank: building, staff, service and information, and 2) the result of comparing of the customers’ satisfaction with different statuses for service of this bank were as follows: (1) customers with different gender, education, frequency of using the service per 3 months, and the period to be customer had different satisfaction toward the service of the bank in the aspects of building, location, staff, service, and information, with statistical significance at 0.05 level, and (2) customers with different ages, professions and type of customer had no different satisfaction toward the service of the bank.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons