Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/777
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฐปนรรต พรหมอินทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | วีรพล วรานนท์, 2491- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T02:16:30Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T02:16:30Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/777 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษา (1) ความเป็นมาของปัญหาความไม่สงบใน 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (3) แนวทางในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ 3 ชังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดขึ้นมาเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน โดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่เลวร้ายลงตั้งแต่ปี 2545 เป็นต้นมา ทำให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก เหตุร้ายเกิดขึ้นทั้งในเมืองและชนบท เหยื่อผู้ถูกกระทำมีทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป (2) ปัจจัยด้านการเมืองการปกครอง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านการแทรกแซงจากภายนอกประเทศ ปัจจัยด้านอุดมคติรัฐปัตตานี และปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา ล้วนมีผลต่อการเกิดปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ 3 ชังหวัดชายแดนภาคใต้ทั้งสิ้น โดยปัจจัยด้านการเมืองการปกครองจะมีส่วนสำคัญที่สุดที่ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อเนื่องไปสู่ปัจจัยด้านอื่น ๆ ด้วย ซึ่งทำให้ปัญหามีความยู่งยากซับช้อนมากขึ้น (3) แนวทางการแก้ไขปัญหาในระยะสั้นจะต้องเร่งยุติปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ให้ได้ ส่วนในระยะยาวต้องสร้างระบบการเมืองการปกครองในพื้นที่ให้เข้มแข็ง ร่วมกับการสร้างความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของประชาชนในพื้นที่ และการสร้างความเจริญในด้านต่าง ๆให้ทัดเทียมกับพื้นที่อื่น ๆ ของประเทศไทย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.226 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | reformated digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความขัดแย้งทางสังคม--ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.subject | การก่อการร้าย--ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.subject | ไทย (ภาคใต้)--ปัญหาและข้อพิพาท | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ทำให้เกิดความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the unrest in the three southern border province of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.226 | - |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study the history of the conflict in the area (2) to identify the factors which influenced the unrest during 1 May 2002 and 30 September 2006 and (3) to find the measures to resolve those problems. This research revealed that (1) the conflict in the three southern border provinces of Thailand had continued for a long time. The unrest has become worse since 2002. It has caused numerous deaths and injuries and happened in and out of the provinces. Those victims were both government officials and civilians; (2) the factors including politics, economy, external intervention, idealism of Pattani Kingdom and socio-psychology all resulted in the problem. The most serious factor that affected other factors and caused continuous and complicated problems was politics and government; and (3) to solve the problem in a short-term goal, the government needs to stop the unrest immediately. For a long-term solution, the strong political system as well as solidarity of the people in the area must be built up. In addition, the area must be well- developed to match with other areas in the country. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จุมพล หนิมพานิช | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License