Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7789
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorคณิศร ผู้มีทรัพย์, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T08:06:15Z-
dc.date.available2023-07-14T08:06:15Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7789en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จังหวัดภูเก็ต (2) ระดับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จังหวัดภูเก็ต ปีการศึกษา 2563 จำนวน 269 คน ได้จากกำหนดสัดส่วนและการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบ สอบถามแบบประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร และความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .91 และ .87 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ (1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จังหวัดภูเก็ต โดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการให้กำลังใจแก่บุคลากรในองค์การ ด้านการกำหนดภาระงานที่เหมาะสม ด้านผลงานนวัตกรรมที่ท้าทาย ด้านการจัดหาทรัพยากรที่เพียงพอ ด้านการมีเสรีภาพ ด้านการทำงานเป็นทีมและการทำงานร่วมกัน ด้านการขจัดอุปสรรคต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรม และด้านการสนับสนุนและให้กำลังใจบุคลากร (2) ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านความรอบรู้ของบุคคล ด้านการเรียนรู้กันเป็นทีม ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม และด้านรูปแบบทางความคิด และ (3) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูงมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษา--ไทย--ภูเก็ตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeRelationship between the innovative leadership of school administrators and being of learning organization of secondary schools in Phuket Province under the Secondary Education Service Area Office 14en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the level of innovative leadership of schools administrators of schools under the Secondary Education Service Area Office 14 in Phuket province; (2) the level of being learning organization of schools; and (3) the relationship between innovative leadership of school administrators and the being learning organization of schools. The research sample consisted of 269 teachers in schools under the Secondary Education Service Area Office 14 in Phuket province, obtained by proportional random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on innovative leadership of school administrators and the being learning organization of schools, with reliability coefficients of .91 and .87, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product-moment correlation coefficient. Research findings showed that (1) both the overall and specific aspects of innovative leadership of school administrators of schools under the Secondary Education Service Area Office 14 in Phuket province were rated at the high level; the specific aspects of innovative leadership could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: the aspect of enhancing willpower of personnel in the organization, the aspect of assigning appropriate workload, the aspect of challenging innovation work outcome, the aspect of sufficient resource procurement, the aspect of liberty, the aspect of team work and collaboration, the aspect of elimination of obstacles to the creation of innovation, and the aspect of supporting and encouraging the personnel, respectively; (2) both the overall and specific aspects of being learning organization of schools were rated at the high level; the specific aspects of being learning organization could be ranked based on their rating means from top to bottom as follows: the aspect of personal mastery, the aspect of learning as a team, the aspect of systematic thinking, the aspect of creating shared vision, and the aspect of pattern of thinking, respectively; and (3) the overall innovative leadership of school administrators correlated positively with the overall being learning organization of schools at the very high level ( r = 0.867), which was significant at the .01 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons