Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7794
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศรัณยา บุนนาค, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกอบขวัญ ไสยวิริยะ, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T08:19:29Z-
dc.date.available2023-07-14T08:19:29Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7794-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะทั่วไปทางด้านเศรษฐกิจ-สังคม ประชากร และพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สาธารณะของผู้ใช้บริการ (2) ทราบปัญหาของผู้ใช้บริการที่มีต่อการใช้โทรศัพท์ สาธารณะของ ทศท ในด้านส่วนประสมการตลาด (3) วัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อรูปแบบการให้ บริการโทรศัพท์สาธารณะ และผู้ให้บริการ (ทศท และ TT&T) (4) วิเคราะห์ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ-สังคม และ ประชากร ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการโทรศัพท์สาธารณะ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริการโทรศัพท์สาธารณะ ของ ทศท และ TT&T ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา จำนวน 300 คน ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นหลายขั้นตอน โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความ เชื่อมั่น 0.9630 เป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์การจำแนกพหุ ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นนักเรียน/นักศึกษา มีอายุเฉลี่ย 25.45 ปี รายได้ เฉลี่ย 4,940 บาท/เดือน เพศหญิงใช้บริการมากกว่าเพศชาย ส่วนใหญ่มีสถานภาพโสดใช้โทรศัพท์ฯ หยอดเหรียญ บ่อยที่สุด และนิยมใช้บริการจากตู้โทรศัพท์ฯ ริมถนนมากที่สุด รองลงมา เป็นศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า และ สถาบันการศึกษาโดยใช้โทรภายในจังหวัดและโทรติดต่อไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ในพื้นที่เดียวกัน เหตุผลหลักใน การใช้บริการโทรศัพท์ฯ เพื่อต้องการประหยัดค่าใช้จ่าย โดยมีความถี่ในการใช้บริการเฉลี่ย 12.97 ครั้ง ต่อเดือน และนิยมใช้โทรศัพท์สาธารณะ ในช่วงเวลา 18.01–20.00 น. และ 16.01–8.00 น. (2) ผู้ใช้บริการมีปัญหาโดยรวม ในระดับปานกลาง ต่อการใช้โทรศัพท์สาธารณะของ ทศท แต่อย่างไรก็ตามพบว่า ผู้ใช้บริการมีปัญหาค่อนข้าง มากเกี่ยวกับตู้โทรศัพท์ฯ (3) ผู้ใช้บริการมีความพอใจในรูป แบบการให้บริการโทรศัพท์สาธารณะของ ทศท ในระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจในการใช้โทรศัพท์ฯ TOT CARD มากที่สุด ในเรื่องรูปแบบ และความ ทันสมัย เมื่อเปรียบเทียบกับโทรศัพท์ฯ หยอดเหรียญ และ PIN PHONE นอกจากนี้ ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจ ในการใช้โทรศัพท์ฯ หยอดเหรียญของ TT&T มากกว่า ทศท โดยมีความพึงพอใจในเรื่องของ คุณภาพการให้ บริการ การแก้ไขเหตุเสีย และรูปแบบของตู้โทรศัพท์ฯ (4) ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ-สังคม และประชากร ที่มี อิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการโทรศัพท์สาธารณะ ได้แก่ เขตให้บริการ อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อ เดือน โดยผู้ที่พักอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล/สุขาภิบาล มีอาชีพ ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/พนักงานเอกชน มีรายได้ เฉลี่ย 4,000 บาทและน้อยกว่า จะมีความพึงพอใจมากกว่ากลุ่มที่มีลักษณะตรงกันข้ามth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.38en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโทรศัพท์สาธารณะ -- การบริการth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการโทรศัพท์สาธารณะth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the satisfaction of public telephone customersth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were (1) to study the general socio- economic and demographic composition of public telephone customers and their behavior: (2) to acknowledge problems, incase of marketing mix, experienced by TOT public telephone customers: (3) to measure customer satisfaction against the TOT service mode and the agent who supplies services (TOT and TT&T): and (4) to analyze socio-economic and demographic factors affecting the satisfaction of public telephone customers. Three hundred (300) TOT and TT&T public telephone customers in Hatyai, Songkhla province were sampled using the Multi-Stage Sampling Technique. The research instrument used was a set of questionnaires with 0.9630 reliability. The statistical means used for data analysis were the analysis of variance and multiple classification analysis. Survey results showed that (1) mo|st of the customers were students whose average age is 25.45 years old, and whose average income amounts to 4,940.00 baht/month. Females were found to use the services more than males. Almost all of the sampled customers were single. Coin type public telephones were the most frequently used and public telephone boxes located along the roadside were the most favorite. The second most frequently used public telephone boxes were those located in shopping centers and at the institute, which are used to call numbers within the province or to mobile phones in the same area. The main reason for using public telephones was found to be to save money. The frequency rate of usage was average 12.97 times/month. More than half of the customers used the service between 18.01- 20.00 hrs and between 16.01-18.00 hrs. (2) The level of problems experienced by customers using the TOT public telephones was found to be moderate, however customers were found to have many problems with the telephone boxes. (3) Customer satisfaction with the service mode of TOT was found to be moderate. Customers appear satisfied with the TOT CARD mainly for its style and as it is more modern compared to coin type telephones and the PIN PHONE and the customers were more satisfied using the TT&T coin type telephone than TOT. They were satisfied the service quality, out of order problem solving and the style of the telephone box. (4) The socio-economic and demographic factors affecting the satisfaction of the public telephone customers were identified as the service area, career and average income per month. People living outside of the municipal area in which they work are government staff/semi government staff/private company staff with average income of 4,000 baht or less were more satisfied than the group who had opposite characteristicsth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
80028.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons