Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/779
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | วิรัตน์ แป้นพงษ์, 2502- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T02:27:43Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T02:27:43Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/779 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ความชอบธรรมของกระบวนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ (2) ความชอบธรรมของกระบวนการใช้อำนาจของผู้แทนราษฎร ผลการวิจัยพบว่า (1) กระบวนการเลือกตั้งยังไม่อาจสช้างความชอบธรรมอย่างสมบูรณ์ ให้กับผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้ง เนื่องจากยังมีการทุจริตในการเลือกตั้งกันอย่างกว้างขวางบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2540 และกฎหมายประกอบรัฐธรรมมูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งบางประเด็นยังมีความไม่เหมาะสมและไม่เป็นธรรม (2) การใช้อำนาจของนักการเมืองหลังจากได้ตำแหน่งแล้วมีลักษณะของการแสวงประโยชน์ให้กับตนเองและพวกพ้องอย่างรุนแรง ทัศนคติและค่านิยมของนักการเมืองเกี่ยวกับการเอาชนะการเลือกตั้งและการใช้อำนาจหลังจากเข้าสู่ตำแหน่งอำนาจแล้ว เป็นทัศนคติแบบที่ว่า“โกงแต่จับไม่ได้ ไม่เป็นไร” ปัจจัยสาเหตุสำคัญที่ทำให้สภาพของการเมืองไทยเป็นเช่นนี้มาจากเงื่อนไขปัจจัยด้านอิทธิพลของวัฒนธรรมอุปถัมภ์นิยมกับเงื่อนไขปัจจัยด้านพัฒนาการทางการเมืองของไทยกับระบบทุน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.39 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | reformated digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | การเลือกตั้ง--ไทย--การทุจริต. | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ความชอบธรรมของกระบวนการเลือกตั้งและการเป็นผู้แทนราษฎร | th_TH |
dc.title.alternative | An analysis of the legitimacy of the electoral process and the representatives | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.39 | - |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) analyze the legitimacy of the electoral process and (2) analyze the legitimacy of the Representatives’ exercise of power. The results of these analyses showed that the electoral process could not create legitimacy of elected Representatives absolutely because of limitless election dishonesty; there were some in- agreeable and unjust issues of the provisions of the 1997 Constitution and there were extreme abuses of power among the authorized politicians for the benefits of themselves and their collaborators. Their attitude as well as value about the victory over the election and exercise of power after being elected was interpreted as “It will be all right to cheat if you don’t get caught.” The influential conditions and factors of this dominated discourse were (1) the patronage system from the historical and cultural heritage of the Thai society; and (2) the relationship between political development and capitalism. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เสนีย์ คำสุข | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License