กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/779
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์ความชอบธรรมของกระบวนการเลือกตั้งและการเป็นผู้แทนราษฎร
ชื่อเรื่องอื่นๆ: An analysis of the legitimacy of the electoral process and the representatives
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา
เสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา
วิรัตน์ แป้นพงษ์, 2502-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--การเลือกตั้ง
การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง
การเลือกตั้ง--ไทย--การทุจริต.
วันที่เผยแพร่: 2549
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ความชอบธรรมของกระบวนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ (2) ความชอบธรรมของกระบวนการใช้อำนาจของผู้แทนราษฎร ผลการวิจัยพบว่า (1) กระบวนการเลือกตั้งยังไม่อาจสช้างความชอบธรรมอย่างสมบูรณ์ ให้กับผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้ง เนื่องจากยังมีการทุจริตในการเลือกตั้งกันอย่างกว้างขวางบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2540 และกฎหมายประกอบรัฐธรรมมูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งบางประเด็นยังมีความไม่เหมาะสมและไม่เป็นธรรม (2) การใช้อำนาจของนักการเมืองหลังจากได้ตำแหน่งแล้วมีลักษณะของการแสวงประโยชน์ให้กับตนเองและพวกพ้องอย่างรุนแรง ทัศนคติและค่านิยมของนักการเมืองเกี่ยวกับการเอาชนะการเลือกตั้งและการใช้อำนาจหลังจากเข้าสู่ตำแหน่งอำนาจแล้ว เป็นทัศนคติแบบที่ว่า“โกงแต่จับไม่ได้ ไม่เป็นไร” ปัจจัยสาเหตุสำคัญที่ทำให้สภาพของการเมืองไทยเป็นเช่นนี้มาจากเงื่อนไขปัจจัยด้านอิทธิพลของวัฒนธรรมอุปถัมภ์นิยมกับเงื่อนไขปัจจัยด้านพัฒนาการทางการเมืองของไทยกับระบบทุน
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/779
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
98144.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.56 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons