Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายชล พูลพงษ์, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T08:40:50Z-
dc.date.available2023-07-14T08:40:50Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7805-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกของ พนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (2) เปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาการลาออกของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จำนวน 821 คน กำหนด กลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 269 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมันเท่ากับ 0.979 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อมภายในองค์การ รองลงมาคือด้านความต้องการที่จะดำรงความเป็นสมาชิก ภาพขององค์การ ด้านการบริหารจัดการภายในองค์การ ส่วนระดับปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกอยู่ในระดับ ปานกลาง ได้แก่ ด้านความต้องการที่จะดำรงความเป็นสมาชิกภาพขององค์การ (2) ผลการเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครจำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ สถานภาพทางการสมรส ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาปฏิบัติราชการที่ต่างกันมีผลต่อความตั้งใจลาออกแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพนักงานที่มีตำแหน่งงานที่แตกต่างกันมีผลต่อความตั้งใจลาออกทุกด้านไม่แตกต่างกัน (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างให้พนักงาน อยู่ปฏิบัติงานกับองค์การผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้พนักงานพัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้นโดยการส่งไปอบรม ดูงาน พนักงานควรมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและเป้าหมายขององค์การ ระดับการพิจารณาความดี ความชอบ การให้รางวัลผลตอบแทน และที่สำคัญคือการให้โอกาสที่พนักงานได้รับการเลื่อนขั้นและตำแหน่งที่มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น ควรยกย่องชมเชยพนักงานที่แสดงผลงานได้ดีทำให้พนักงานมีความตระหนักถึงความเป็น ส่วนหนึ่งขององค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร--พนักงาน--การลาออกth_TH
dc.titleความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครth_TH
dc.title.alternativeThe opinion of employees on factors affecting the resignation of employees at Phranakhon Rajabhat Universityth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the level of factors affecting the resignation of employees at Phranakhon Rajabhat University; (2) to compare the levele of factors affecting the resignation of employees at Phranakhon Rajabhat University classified by personal characteristics; and (3) to recommend the solutions to solve the resignation problems of employees at Phranakhon Rajabhat University. The population was 821 employees of Phranakhon Rajabhat University. The samples were 269 employees calculated by using stratified sampling method and Yamane’s formula. Questionnaires with 0.979 confidence value were used for data collection. The data was analyzed by using mean, percentage, standard deviation, t Test, one-way ANOVA, and Lease Significant Different (LSD). The results showed that (1) overall the level of factors affecting the resignation of employees at Phranakhon Rajabhat University was at high level. The organizational environment, the desire to maintain membership of the organization, and the organizational management were at the high level while the desire to maintain membership of the organization was at the moderate level; (2) the different gender, age, marital status, educational level, income, working experience affected the resignation of employees differently at the statistically significant 0.05 level whereas the different working position affected the the resignation of employees similarly; and (3) the recommendations for employees’ retention were to enhance the employees’ potential by attending training courses; the participation in the organizational policy and goals establishment; the consideration of using merit system for payment particularly the work promotion and praising employees for their success in order to encourage them as a part of the organizationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134649.pdf11.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons