Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดลพร บุญพารอดth_TH
dc.contributor.authorทิพยวรรณ กาญจนเชฐ, 2502-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T08:52:01Z-
dc.date.available2023-07-14T08:52:01Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7809en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบต้นทุนในการจ้างเหมางานรักษาความปลอดภัยกับระบบลูกจ้างประจำ (2) เปรียบเทียบต้นทุนในการจ้างเหมางานรักษาความสะอาดกับระบบลูกจ้างประจำ (3) เปรียบเทียบความพึงพอใจในการจ้างเหมางานรักษาความปลอดภัยกับระบบลูกจ้างประจำ (4) เปรียบเทียบความพึงพอใจในการจ้างเหมางานรักษาความสะอาดกับระบบลูกจ้างประจำ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ปฏิบัติงานในสำนักงบประมาณจำนวน 300 คน ประกอบด้วย ระดับ 9–11 จำนวน 7 คน ระดับ 7-8 จำนวน 98 คน ระดับ 1-6 จำนวน 153 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกข้อมูลตัวเลขทุติยภูมิแบบสัมภาษณ์พนักงานรักษาความสะอาด และแบบสอบถามความพึงพอใจของงานรักษาความปลอดภัยและงานรักษาความสะอาดในระบบการจ้างเหมากับระบบลูกจ้างประจำ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับของการจ้างเหมาเท่ากับ .9690 และระบบลูกจ้างประจำ เท่ากับ .9852 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าสถิติทดสอบทีที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ต้นทุนการจ้างเหมางานรักษาความปลอดภัยตํ่ากว่าต้นทุนระบบลูกจ้างประจำ (2) ต้นทุนการจ้างเหมางานรักษาความสะอาดตํ่ากว่าต้นทุนระบบลูกจ้างประจำ (3) ความพึงพอใจในการจ้างเหมางานรักษาความปลอดภัยสูงกว่าระบบลูกจ้างประจำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) ความพึงพอใจในการจ้างเหมางานรักษาความสะอาดสูงกว่าระบบลูกจ้างประจำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.285en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสำนักงบประมาณ ลูกจ้าง แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.titleการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบต้นทุนและความพึงพอใจระหว่างการจ้างเหมากับระบบลูกจ้างประจำของงานรักษาความปลอดภัยและงานรักษาความสะอาดของสำนักงบประมาณth_TH
dc.title.alternativeComparitive analysis of cost and satisfaction between outsourcing and permanent staff for security and cleaning services at the bureau of the budgeten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.285-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.285en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to compare the costs of outsourcing security and hiring permanent employees at the Bureau of the Budget. (2) to compare the costs of outsourcing cleaning and luring permanent employees. (3) to compare the satisfaction between outsourcing and luring regular security staff, and (4) to compare the satisfaction between outsourcing and luring regular cleaning staff. The sample was tluee hundred participants from the Bureau of the Budget, comprising of 7 executives, 98 middle management officers. 153 staff and 42 permanent employees. Research methodologies were the collecting of the secondary7 data, interviewing cleaners in order to analyse the running costs in each year, and questionnaires of satisfaction between outsourcing and permanent luring of the security and cleaning services. This questionnaire was developed by the researchers. Confidence in outsourcing was 0.9690 and UI permanent staff, 0.9852. The findings of this study were as follows: (1) the cost of outsourcing security was lower than that of permanent employees. (2) the cost of outsourcing cleaning was lower than that of permanent employees, (3) the satisfaction with outsourcing security was higher than the satisfaction with the permanent employee system, with significant difference of .05 and (4) the satisfaction with outsourcing cleaning was higher than the satisfaction with the permanent employee system, with significant difference of .05.en_US
dc.contributor.coadvisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรมth_TH
dc.contributor.coadvisorสุวิมล เหลืองประเสริฐth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
81297.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons