Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7814
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอโนทัย สุขีวงศ์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-15T07:49:34Z-
dc.date.available2023-07-15T07:49:34Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7814-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ ข้าราชการเรือนจำกลางนครปฐม และเรือนจำกลางเพชรบุรี (2) เปรียบเทียบปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการเรือนจำกลางนครปฐม และเรือนจำกลางเพชรบุรี (3) หาแนวทางในการปรับปรุงปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการให้สอดคล้องกับความต้องการของข้าราชการเรือนจำกลางนครปฐม และเรือนจำกลางเพชรบุรี ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานประจำเรือนจำกลางนครปฐม และ เรือนจำกลางเพชรบุรี จำนวน 191 คน โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 130 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง แบบโควต้า เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยจูงใจและปัจจัยอนามัยมีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการ เรือนจำกลางนครปฐมและเรือนจำกลางเพชรบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยพบว่าปัจจัยจูงใจด้าน ความสำเร็จในปฏิบัติงานมากที่สุด รองลงมาคือความรับผิดชอบ และน้อยที่สุดคือ ความก้าวหน้าในหน้าที่ปฏิบัติงาน และปัจจัยอนามัยด้านค่าตอบแทนมากที่สุด รองลงมาคือด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และน้อยที่สุดคือด้านการบังคับบัญชา (2) ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการ เรือนจำกลางนครปฐมและเรือนจำกลางเพชรบุรีไม่แตกต่างกัน โดยปัจจัยจูงใจด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานมีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านค่าตอบแทนการได้รับการยอมรับความสำเร็จในการปฏิบัติงานและความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานตามลำดับ (3) แนวทางเสริมสร้างความสำเร็จในการปฏิบัติงานประกอบด้วยแนวทางการดำเนินการ 3 แนวทางคือ ด้านการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง ได้แก่ อบรบให้ความรู้เจ้าหน้าที่เพิ่มทักษะร่วมเน้นการฝึกวิชาชีพที่สามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันหลังพ้นโทษ ด้านการบริหารงานบุคคลกรขาดการมอบหมายหน้าที่ การจัดอัตรากาลัง ความร่วมมือประสานงาน ด้านการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ภายในเรือนจำ/ทัณฑสถาน ขาดความรู้ งบประมาณ การบำรุงรักษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectเรือนจำ--ข้าราชการและพนักงาน.th_TH
dc.titleปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการเรือนจำกลางนครปฐมและเรือนจำกลางเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the performance operations of government official : a case study of Naknonpathom [i.e. Nakhon Pathom] Prison, Phetchaburi Prisonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to determine (1) motivation factors that affect the performance of official federal prison Pathom. Prison and Rai (2) compare the motivation factors that affect the performance of official federal prison Pathom. Prison and Sue (3) find ways to improve motivation factors that affect the performance of the government. Comply with the requirements of federal prison officials Pathom. And Phetchaburi Central Prison The population in the US. Servants who work for the federal prison Pathom. And federal prison Phetchaburi 191 people by using random sample of 130 people.Quota tools used for data collection instruments were used in the statistical analysis were percentage, mean and standard deviation. And analysis of variance The results showed that: (1) motivation factors and hygiene factors affecting the performance of official federal prison Pathom. And the Central Prison in Bangkok overall average. It was found that the factors motivating the most successful operations. Followed by the responsible And minimal Advances in charge of the health service and the most compensation. The second is the relationship with colleagues. And a minimum of supervision. (2) Motivation factors that affect the performance of prison officials and prison Bangkok Bangkok is no different. The main motivation for relations with colleagues affect the success of the operation as possible. Followed by the compensation factor is recognized achievements in performance and progress in working order. (3) ways to enhance the success of operational guidelines for implementation of the guidelines of the three vocational training inmates are trained to educate staff. Join emphasis on vocational skills that can be applied in life. Daily acquitted after Administrative personnel Lack of fiduciary duty Staffing and coordination. The use of information technology within the prison / detention lack of maintenance budgeten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_145398.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons