Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/781
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา ผลประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทวีป สมัครการไถ, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T02:39:13Z-
dc.date.available2022-08-20T02:39:13Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/781-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ผลการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดอุทัยธานี (2) ปัจจัยด้านชมรม ด้านกรรมการชมรม การสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข การสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยดังกล่าวกับผลการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ และ (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ ประชากรที่ศึกษา คือ ชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดอุทัยธานีทั้งหมด จำนวน 364 ชมรม เก็บข้อมูลจากผู้บริหารชมรมทุกแห่ง โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงของปัจจัยรวมเท่ากับ 0.955 ได้รับแบบสอบถามกลับคืน จำนวน 298 ชุด คิดเป็นร้อยละ 81.87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ อยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยด้านกรรมการชมรม และปัจจัยด้านการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุอยู่ในระดับสูง ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรมในการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ อยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยด้านกรรมการชมรมปัจจัยด้านการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรม มีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับผลการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ (4) ปัญหา อุปสรรคที่พบ ได้แก่ ผู้สูงอายุมาร่วมกิจกรรมน้อยเพราะมีปัญหาเรื่องพาหนะ อายุมาก ภาระงานที่ทํา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่เห็นความสำคัญของชมรมและสนับสนุนงบประมาณน้อยชมรมขาดผู้มีความรู้ความสามารถเข้ามาเป็นกรรมการชมรม โดยผู้บริหารชมรม มีข้อเสนอแนะว่าควรจัดรถรับ-ส่งผู้สูงอายุที่มาเข้าร่วมกิจกรรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรสนับสนุนชมรมอย่างเต็มรูปแบบ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ ชมรมควรชักชวนหรือคัดเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาบริหารชมรม เช่น ข้าราชการบำนาญ สนับสนุนให้สมาชิกที่มีอายุน้อยเข้ามาเป็นกรรมการชมรมผู้สูงอายุ การให้ความสําคัญของการพัฒนาคน พัฒนาศักยภาพของกรรมการ สร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจให้กรรมการชมรม รวมทั้งหน่วยงานต่างๆ ควรสนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และเป็นที่ปรึกษาแก่ชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชมรมผู้สูงอายุจังหวัดอุทัยธานี--การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดอุทัยธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the performance of elderly clubs in Uthai Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were to study: (1) performance of elderly clubs, factors of the clubs and club committees, support from health personnel and local administrative organizations, and participation of club members in Uthai Thani province; (2) the relationships between those factors and the club performance; and (3) problems encountered in and suggestions for the elderly club implementation. The study was conducted on 364 elderly clubs in Uthai Thani province. Data was collected from the administrators of all the elderly clubs by using a questionnaire with the reliability level of 96. Of all the sent questionnaires, 298 or 81.87% were completed and returned. The statistics used in data analyses were percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-moment correlation coefficient, and chi-square. The research findings showed that: (1) the performance of the elderly clubs in Uthai Thani province was at the high level: factors related to club committeemembers and health personnel's support were at the high level; and factors related to support from local administrative organizations and the participation of club members were at the moderate level; (2) the relationships between the factors related to club committee members, health personnel's support, support from local administrative organizations as well as club members' participation and the club performance was significantly positive at the level of 0.001; and (3) the problems and obstacles encountered were the low level of activity participation of the elderly because of their difficulty in transportation, old age and work burden, low level of attention and insufficient budgetary support from local administrative organizations; and lack of capable people serving as club committee members. The elderly suggested that transportation should be provided for them to join the activities: local administrative organizations should fully support the elderly clubs and sent competent personnel to continuously provide management advice. Overall, based on the research findings, it is recommended that the elderly clubs should persuade or recruit knowledgeable and capable persons, such as government pensioners, to help with the administration of the clubs, young people should be encouraged to serve on a club committee, more attention should be paid to human resources development, capacity building, and morale support for committee members, and agencies concerned should provide budget, materials/equipment, and consultation to the clubs on a continuous basisen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108742.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons