กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7822
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จําเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | ฤทัยรัตน์ ช้างเงิน, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-16T05:34:50Z | - |
dc.date.available | 2023-07-16T05:34:50Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7822 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสําเร็จในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของสํานักงานประกันสังคมในภาคตะวันตกของประเทศไทย (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของสํานักงานประกันสังคมในภาคตะวันตกของประเทศไทย และ (3) ปัญหาและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของ สํานักงานประกันสังคมในภาคตะวันตกของประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรได้แก่บุคลากรของสํานักงานประกันสังคมจังหวัดในเขตภาคตะวันตกจํานวนทั้งหมด 224 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความสําเร็จในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของสํานักงาน ประกันสังคมในภาคตะวันตกของประเทศไทย ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของสํานักงานประกันสังคมในภาคตะวันตกของประเทศไทย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาลําดับจากการตอบแบบสอบถาม 3 ลําดับแรก ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้นํา ปัจจัยด้านการบริหารองค์กร ปัจจัยด้านมนุษยสัมพันธ์ตามลําดับ และ (3) ปัญหาในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์คือ ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือสื่อสาร ขาดการประสานงานกับผู้ใต้บังคับบัญชา ความสามารถในการใช้กลยุทธ์การสื่อสารมีน้อย กำกับดูแลผลการปฏิบัติงานไม่ทั่วถึง ไม่เปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ส่วนข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารควรพัฒนาทักษะให้เจ้าหน้าที่โดยการจัดโครงการอบรมหลักสูตรการสร้างทีมงานและนวัตกรรม รวมทั้งจัดกิจกรรมและเพิ่มช่องทางการรับฟังความคิดเห็น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักงานประกันสังคม--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.subject | การบริหาร | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของสำนักงานประกันสังคมในภาคตะวันตกของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the achievement of results based management of the Social Security Office in the West of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were: (1) to measure level of achievement of results based management of the Social Security Office in the West of Thailand; (2) to study factors affecting the achievement of results based management of the Social Security Office in the West of Thailand; and (3) to study problems and recommend development guidelines on the achievement of results based management of the Social Security Office in the West of Thailand. This study was a survey research. Population was altogether 224 officials of the Social Security Office in the West of Thailand. The research instruments used in data collection was a questionnaire. Data analysis employed descriptive statistical analysis such as frequency, percentage, mean, standard deviation. Research results revealed that: (1) in the overall image of level of achievement of results based management of the Social Security Office in the West of Thailand was at highest level; (2) factors affecting the achievement of results based management of the Social Security Office in the West of Thailand appeared at high level; consideredfrom top 3 aspects, it was found that factors regarding leadership, organization administration and human relationship was identified at high level respectively; and (3) problems of results based management were the lack of technological and communication devices, lack of coordination with subordinates, low ability to applied communicative tactic, inability to control the work thoroughly, giving less opportunity of participation in making decision. Recommendations were administers should provide skill development training to officials by organizing courses on team and innovation building. Moreover, administrators should provide another channel for activity and expressing officials’ opinions. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext_145881.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.07 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License