Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชามญชุ์ สมานรักษ์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-16T07:08:12Z-
dc.date.available2023-07-16T07:08:12Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7827-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษายุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุ (2) วิเคราะห์กระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุตามแนวทางการบริหารแบบสมดุล (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จใน การบริหารยุทธศาสตร์และ (4) ศึกษาปัญหาและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารยุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุ ประชากรที่ใช้ในการศึกษามีจำนวน 15 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ของกรมกิจการผู้สูงอายุที่เกี่ยวข้อง กับการจัดทำยุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุ คือ ผู้บริหารระดับสูง 1 คน ผู้อำนวยการระดับกอง/กลุ่ม จำนวน 5 คน และข้าราชการที่รับผิดชอบในการทำยุทธศาสตร์จำนวน 9 คน ศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบ สัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและอธิบายในรูปแบบพรรณนาความ ผลการศึกษาพบว่า (1) ยุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุมีทั้งหมด 5 ยุทธศาสตร์ซึ่งล้วนเป็นยุทธศาสตร์ ที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาแผน มาตรการ เพื่อส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุการสร้างความ ตระหนักให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างสังคมคุณภาพสำหรับผู้สูงอายุโดยการใช้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่มีอยู่สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคม รวมถึงการเข้าถึงบริการสังคมของภาครัฐ (2) กระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ใช้เทคนิคการ วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก วิเคราะห์การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ดัชนีชี้วัดการบริหารยุทธศาสตร์ และการประเมินยุทธศาสตร์พบว่ามีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวง และมีมุมมองที่มีความสอดคล้องและตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ขององค์กร ตามแนวทางการบริหารแบบสมดุลคือ มุมมองทางด้านการเงิน ลูกค้า และด้านการ เรียนรู้และการเจริญเติบโต (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการบริหารยุทธศาสตร์ คือ 1) ปัจจัยภายในองค์การได้แก่ บุคลากรมีความรู้และมีทักษะ มีพระราชบัญญัติรองรับมีการจัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ผู้บริหารและนโยบายมีความชัดเจน มีระบบงานและองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุที่ดีและโครงสร้างเหมาะสม 2) ปัจจัยภายนอก ที่มีอิทธิพล ได้แก่ รัฐให้ความสำคัญกับนโยบายผู้สูงอายุมีงบประมาณในการจัดระบบสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุ เทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรม และมีคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ เป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานและ (4) ปัญหาในการบริหารยุทธศาสตร์ ได้แก่ บุคลากรไม่เพียงพอไม่มีระบบฐานข้อมูลที่ดีในการจัดการ ความรู้ที่เป็นแบบแผน กรมกิจการผู้สูงอายุเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนในการเรียนรู้งาน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองทำให้งานขาดความต่อเนื่อง การจ่ายสวัสดิการให้ผู้สูงอายุ และการดูแลผู้สูงอายุมีมากขึ้น เครือข่ายไม่เห็นความสำคัญ และการเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ ส่งผลต่อผู้สูงอายุ ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารยุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุคือ ควรให้บุคลากรทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วมในทุกกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ จัดทำแผนที่ทางยุทธศาสตร์ และควรส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรส่งเสริมความร่วมมือของภาครัฐและภาคเอกชนให้ร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน ด้านผู้สูงอายุ พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์หน่วยงานให้เป็นที่รู้จักอยางกว้างขวางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมกิจการผู้สูงอายุ--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการบริหารยุทธศาสตร์ของกรมกิจการผู้สูงอายุth_TH
dc.title.alternativeStrategic management of Department of Older Personsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed at: (1) studying the strategies of Department of Older Persons; (2) analyzing the procedures of strategic management of Department of Older Persons in accordance with Balanced Scorecard model; (3) investigating factors affecting the success in strategic management; and (4) studying problems and proposing guidelines to develop the strategic management of Department of Older Persons. The population comprised all staff of Department of Older Persons who are responsible for strategic management of Department of Older Persons. They were one executive official, 5 directors of departments/divisions and 9 officials, totally 15 informants. Samples were all of population. In-depth interview was used to collect the data which were analyzed on the basis of content analysis and descriptive analysis. The results revealed that: (1) there are 5 strategies of Department of Older Persons of which all gave precedence on developing plans and measures to promote older Persons’ welfare and rights protection. Also, the strategies focused on raising public awareness of taking part in the creation of the quality society for the elders by deploying the elders’ wisdom to create benefits to the society as well as allowing them to access social services provided by the public sector; (2) Analyzing strategic management procedures began from environments analysis both internal and external aspects, issues of strategies, goals, indicators, strategic management and strategic evaluation. It was found that the strategies which have been made were in accordance with the ministerial strategies and corresponded with the organizational strategies following the Balanced Scorecard in terms of financial, customers, learning and growth; (3) factors affecting the success in strategic management were 1) internal factors were that the personnel was knowledgeable and skillful; the strategies were accredited legally; the National Plan for Older Persons and the Act have been established as the models for operations; the managements and the policies were clear; the operational systems and the knowledge of older Persons are solid; and the structure is appropriate. 2) external factors were that the policy on older persons were given importance politically, they are provided welfares, there was technology supporting the related operations; the older Persons can take part in activities; and the Older Persons Committee was the main organization driving the operations; and (4) problems of the strategic management included that there was not enough personnel; the database was not effective enough for systematic knowledge management; the newly establishment of the Department of the Older Persons caused the change in learning of tasks and roles; the change of politics caused discontinued work; there were some problems relating to older Persons welfare distribution as the number of the older Persons have been increasing; the networks did not realize the importance; and there were disasters of which outcomes affect the older Persons. Suggestions for strategic management of Department of the Older Persons were that the personnel of all levels should be allowed to take part in strategy and strategic map formulation; their efficiency should be improved; the public and private sectors should have collaboration in driving the work related to the Older Persons; and the organization should be promoted to make it become publicly knownen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147760.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons