Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิตตินันท์ ชะเนติยัง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกุลวีณ์ วุฒิกร, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T01:31:14Z-
dc.date.available2023-07-17T01:31:14Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7839-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการมีส่วนร่วม และความต้องการมีส่วนร่วม ของ ผู้บริหารระดับต้นต่อการบริหารงานสวัสดิการสังคม (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของการมี ส่วนร่วมและความต้องการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับต้นต่อการบริหารงานสวัสดิการสังคม โดยจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารระดับต้นซึ่งประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายและหัวหน้างานที่เป็น ข้าราชการ ระดับ 6,7 และ 8 ทั้งห้าสำนัก ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ จำนวน 105 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ซึ่งเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและความต้องการมีส่วนร่วมใน 4 ด้าน คือ การค้นหาปัญหาและสาเหตุ การวางแผนดำเนินกิจกรรม การลงทุนและปฏิบัติงาน และ การติดตามและประเมินผล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ อัตราร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และ ทดสอบรายคู่ด้วยวิธี L.S.D ผลการวิจัยพบว่า (1) การมีส่วนร่วมในปัจจัยของผู้บริหารระดับต้นต่อการบริหารงาน สวัสดิการสังคมในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ระดับต้น ต่อการบริหารงาน สวัสดิการสังคมอยู่ในระดับมาก (2) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง การมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับต้นต่อการบริหารงาน สวัสดิการสังคมโดยจำแนกตามข้อมูลส่วน บุคคล พบว่าไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างความต้องการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ระดับต้นต่อการบริหารงานสวัสดิการสังคม โดยจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า วุฒิการศึกษา การฝึกอบรมด้านบริหารจัดการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนั้น ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.287en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็กฯ -- การบริหารth_TH
dc.subjectสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็กฯ -- บริการสังคมth_TH
dc.subjectบริการสังคม -- การบริหารth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับต้นต่อการบริหารงานสวัสดิการสังคมกรณีศึกษา : สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุth_TH
dc.title.alternativeParticipation of front-line administrators in social welfare administration a case study from the Office of Welfare Promotion, Protection and Empowerment of Vulnerable Groupsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (I) to determine the participation level and needs to participate of front-line administrators in social welfare management and (2) to compare the front-line administrators participation in social welfare management classified by sex, age, education, organizations, job position and level, range of position, and management training. The sample for this study consisted of 105 front-line administrators including department heads, division heads, and the C6, C7, C8 officials in the office of welfare Promotion, Protection and Empowerment of Vulnerable Groups. The research instruments were questionnaires developed by researchers consisting of participation level and needs to participate in the areas of problems finding and causes, activity planning, investment and implementation, well as follow - up and evaluation. The statistics employed to analyse the data were percentage, mean, standard deviation, One Way ANOVA, and multiple comparison with the L.S.D. method. Based on the findings of the study, it was concluded that: 1. The front-line administrators, participation in social welfare in general was at a medium level, but the participation needs were at a high level. 2. There was no significant difference between the front- line administrators and the social welfare administration in terms of personal data, but there was significant difference between the need for participation of the front-line administrators and social welfare administration classified by their personal data of educational levels and training management at the level of .05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
81301.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons