Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7845
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | อังคณา แสงสุระ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-17T03:49:55Z | - |
dc.date.available | 2023-07-17T03:49:55Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7845 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช (2) ระดับความผูกพันองค์การของบุคลากรโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันองค์การของบุคลากรโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช จำนวน 1,726 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ได้ 313 คน สุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความปลอดภัยและสุขภาพอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ส่วนด้านค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นอยู่ในระดับน้อยที่สุด (2) ระดับความผูกพันองค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านความเป็นอันหนึ่งอันเดียวขององค์การอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านความจงรักภักดีต่อองค์การ และ ด้านความเกี่ยวพันกับองค์การตามลำดับ และ (3) ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันองค์การในภาพรวมพบว่ามีความสัมพันธ์ทิศทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ--ไทย | th_TH |
dc.subject | ความภักดีของลูกจ้าง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันองค์การของบุคลากรโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between human resource management and organizational commitment of employees at Bhumibol Adulyadej Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the human resource management of Bhumibol Adulyadej Hospital (2) to study the organizational commitment of employees of Bhumibol Adulyadej Hospital, and (3) to study the relationship between human resource management and organizational commitment of employees of Bhumibol Adulyadej Hospital. The population used in this research consisted of1,726 employees in Bhumibol Adulyadej Hospital. The samples were used collected 313 samples calculated by Craigie and Morgan tables. The instrument used in collecting data was questionnaires. Data were analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics including Pearson's correlation coefficient.n The research findings were as follows: (1) the overall level of human resource management was high. The safety and health was the highest. The compensation and benefits was the lowest (2) the level of organizational commitment in the overall level is high. The identification was the highest. The Involvement was the lowest, and (3) the correlation between human resource management and organizational commitment showed a high level of positive relationship with statistical significance at the .01 level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161247.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License