Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยานี ภาคอัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorยุวดี ไชยศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทพร ธงชัยสุริยา, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T05:54:46Z-
dc.date.available2023-07-17T05:54:46Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7849-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ประเมินผลการดำเนินงานของธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2537-2545 (2) ระบุอัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญที่ส่งผลต่อความ สำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม และ (3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการ เงินกับผลการดำเนินงานของธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บริษัทที่ดำเนินธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งก่อนและตั้งแต่่ พ.ศ. 2536 ที่สามรถดำเเนินธุรกิจมาจนถึงปัจจุบันนี้และมีข้อมูล ทางการเงินและการบัญชีครบถ้วน จำนวน 8 บริษัท ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาคือข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ งบดุล งบ กำไรขาดทุน หมายเหตุประกอบงบการเงิน และเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ อัตราส่วน ทางการเงิน สมการถดถอยแบบตัวแปรเดียว และสมการถดถอยแบบเชิงซ้อน ผลการวิจัยพบว่า ผลการดำเนินงานของบริษัทในธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ช่วงก่อนเกิดวิกฤต เศรษฐกจิ พ.ศ. 2537-2540 ส่วนใหญ่จะมีสภาพคล่อง มีประสิทธิภาพในการบริหารทรัพย์สินและหนี้สิน รวมทั้งมี ความสามารถในการหารายได้จากการดำเนินงานและจากการลงทุนในสินทรัพย์ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของธุรกิจ แต่ช่วง หลังเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2541-2545 ทุกบริษัทต้องประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ เกิดการขาดสภาพคล่อง และ มีความเสี่ยงทางการเงินสูง มีเพียง 2 บริษัท คือ บริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเคชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) และบริษัท อินเตอร์แนชั่นเนิลเอนจีเนียริง จำกัด (มหาชน) ที่สามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาสภาพคล่อง อัตราส่วนทางการเงินที่มีผลต่อความสำเร็จ ในการดำเนินงาน และมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานของบริษัท คือ อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวมอัตราส่วนหนี้สิน อัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตรา ส่วนเงินทุนหมุนเวียน และอัตราการหมนุเวียนของสินทรัพย์ถาวรตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectการสื่อสาร -- ไทยth_TH
dc.subjectโทรคมนาคม -- ไทยth_TH
dc.subjectธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม--ไทยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : พ.ศ. 2537-2545th_TH
dc.title.alternativeAnalysis of the performances of telecommunication business in the stock exchange of Thailand : 1994-2002th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of in this research were to (1) evaluate the performances of Telecommunication sector in the Stock Exchange of Thailand (SET) between 1994 and 2002, (2) identify the major financial ratios affecting the operation success of Telecommunication and (3) analyse the relationship between financial ratios and Telecommunication performances. The sample in the research is eight listed companies in Telecommunication sector in the Stock Exchange of Thailand both before and since 1993. These companies still operate and have completed financial and accounting information. The secondary data are also employed in this study. They consist of balance sheet, profit & loss, notes to financial statement and related documents. The analytical methodology comprises of financial ratios, univariate regression and multivariate regression. The outcome of the analysis found that in the pre-crisis period of 1994-1997 the operational performance of the telecommunication companies showed sufficient liquidity and efficiency in managing their assets and liabilities, including the ability to generate income from operations and invest better than the industry average but in the post crisis period of 1998-2002. Telecommunication companies encountered economic problems resulting from lack of liquidity and high financial risk. There are only two companies; United Telecommunication Industry Public Company Limited and The International Engineering Public Company Limited who were able to prepare themselves to solve liquidity problems. Financial ratios related to their operational performance are used to analyse success of the companies’ operational performance. These are total assets turnover ratio, debt ratio, long-term debt to equity ratio, current ratio, and fixed assets turnover ratio respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82101.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons