Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรทัย ชูเจริญ, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T03:03:51Z-
dc.date.available2022-08-20T03:03:51Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/784-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฏหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ความเป็นมาและหลักการ ของระบบพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และการจ้างพนักงานของสถาบันอุดมศึกษา ในต่างประเทศ (2) ศึกษาหลักการของกฎหมายเกี่ยวกับพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐโดยเปรียบเทียบกบเจ้าหน้าที่รัฐประเภทอื่น และศึกษาการจ้างพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ (3) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานการจ้างพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของ รัฐโดยเปรียบเทียบกับการจ้างเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทอื่นและการจ้างพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของต่างประเทศ (4) เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหามาตรฐานการจ้างงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัย เอกสาร โดยศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากตัวบทกฎหมาย หนังสือ บทความ วิทยานิพนธ์ คําพิพากษาและคําสั่งของศาลปกครอง รายงานของส่วนราชการ หนังสือส่วนราชการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาวิจัยพบว่า พนักงานในสถาบันอุดมศึกษาเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐรูปแบบ ใหม่ที่นํามาทดแทนข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้มีการกำหนดอัตราค่าตอบแทน ที่สามารถจูงใจให้บุคลากรที่มีศักยภาพเข้าสู่ระบบราชการได้ ซึ่ งตามพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ ้ ่ มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ได้บัญญัติให้สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งมีการกาหนดแนวทางและมาตรฐานการจ้างพนักงานและ ํ การบริหารงานบุคคลของแต่ละสถาบันอุดมศึกษาเอง จึงเป็ นเหตุนํามาสู่ปัญหาการขาดเอกภาพ ดังนั้น สมควรมีการแกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ้ โดยให้มีเกณฑ์มาตรฐานกลางเกี่ ยวกับการจ้างพนักงานของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเพื่อเป็ น หลักประกนความเป็ นธรรมในการจ้างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.rights.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.104en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- ข้าราชการและพนักงาน -- การจ้างงานth_TH
dc.subjectการจ้างงานth_TH
dc.titleมาตรฐานการจ้างพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐth_TH
dc.title.alternativeEmployment standards in public institutions of higer educationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.104en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the concepts, background and principles of the personnel system in public universities and colleges and the employment systems of institutions of higher learning in other countries; (2) to study legal principles involved with personnel at public universities and compare them with legal principles involving other kinds of government sector employees; (3) to analyze legal problems involved with the hiring of personnel for public universities and compare them with the standards for hiring personnel for other public agencies and for hiring personnel at institutions of higher learning in other countries; and (4) to recommend approaches for solving problems involved with the employment standards of public universities. universities. This was a qualitative research based on documentary research of related laws, books, articles, theses, judgments and orders of the Administrative Court, government reports, and related literature. The results showed that personnel working at public universities are now a new kind of government official created to replace civil servants in institutions of higher learning. The new class of employee was created in order to offer more attractive salary rates that would be an incentive for quality personnel to work at public universities. The Rules for Civil Servants in Institutions of Higher Learning Act, B.E. 2547 (C.E. 2004), amended B.E. 2551 (C.E. 2008), allows each university to set its own standards and methods for hiring and personnel management. This has led to a lack of unity. The law should be amended to set central, uniform standards in order to insure fairness in hiring and employment at all public universities and colleges.en_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib149676.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons