Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7857
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รชพร จันทร์สว่าง | th_TH |
dc.contributor.author | จุฑาทิพย์ จันทระ, 2510- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-17T06:51:40Z | - |
dc.date.available | 2023-07-17T06:51:40Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7857 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัด นนทบุรี (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี (3) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านกาแฟสด ในเขตจังหวัด นนทบุรี ซึ่งไม่ทราบจำนวนกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) พฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี ส่วนใหญ่มี ช่วงเวลาเข้าใช้บริการ เวลา 08.01 น. - 12.00 น. มีความถี่ในการใช้บริการ คือ 1- 2 ครั้ง/สัปดาห์ ประเภทเครื่องดื่มที่นิยมบริโภค คือ เอสเปรสโซ่ ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการต่อครั้ง 51-180 บาท สถานที่ที่นิยมใช้บริการ คือ ร้านสตาร์บัคส์ เหตุผลในการใช้บริการ คือ ติดใจในรสชาติเครื่องดื่ม ผู้มีส่วนร่วมในการใช้บริการ คือ เพื่อน/เพื่อนร่วมงาน ลักษณะการใช้บริการ คือ บริโภคที่ร้าน การรู้จักร้าน กาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี คือ เพื่อนบอกต่อๆ กันมา (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ที่มีต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี พบว่า ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด บุคลากร ลักษณะทางกายภาพและ กระบวนการให้บริการ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศอายุสถานภาพ ระดับการศึกษาอาชีพรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสดในเขตจังหวัดนนทบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | กาแฟ--การตลาด | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคกาแฟสด ในเขตจังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Marketing mix factors affecting behavior of fresh coffee consumers in Nonthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the study were to study (1) behavior of fresh coffee consumers in Nonthaburi province; (2) the marketing mix factors that would affect the behavior of fresh coffee consumers; and (3) the personal factors that would affect the behavior of fresh coffee consumers. The population of this survey research was fresh coffee consumers in Nonthaburi province, but the exact number was unknown. The sample group was 400 fresh coffee consumers, calculated by using formula of Taro Yamane. The constructed questionnaire was used as a tool for collecting data. The statistics employed for data analysis were percentage, mean, standard deviation and Chi-square. The results of this study were as follows: 1) the fresh coffee consumers, mostly used the service between 08:01- 12:00 o’clock, once or twice per week. Espresso was most popular. They spent 51-180 Baht each time. The popular place was Starbucks, and the reason to use service was because of its taste. Most of them usually went to the coffee shop with friends or colleagues and they preferred to sit at the shop and they knew of the shops by words of mouth; 2) as for the marketing mix factors, it was found that product, price, place, promotion, people, process, and physical were related to the behavior of fresh coffee consumers with a statistical significance at 0.05 level; and 3) the personal factors such as gender, age, status, educational level, occupation, and average monthly income were related to the behavior of fresh coffee consumers with a statistical significance at 0.05level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
143357.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License